Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะบกพร่องทางสติปัญญา (Intellectual Disability : ID) - Coggle Diagram
ภาวะบกพร่องทางสติปัญญา (Intellectual Disability : ID)
ความหมาย
เป็นความผิดปกติในระยะช่วงแรก ๆ ของพัฒนาการในวัยเด็กซึ่งเป็นความบกพร่องข-การทำหน้าที่ด้านสติปัญญาและ-การปรับตัวทั้งในด้านความคิดด้านสังคมและด้านการกระทำโดยมีเกณฑ์การวินิจฉัยตาม DSM 5
1.ความบกพร่องด้านสติปัญญา
2.ความบกพร่องด้านการปรับตัวต่อสิ่งแวดล้อม
3.ความบกพร่องของสติปัญญาและการปรับตัวในช่วงระยะพัฒนาการความบกพร่องด้านสติปัญญา
อุบัติการณ์
ความชุก (Prevalence) ประมาณ 1.3%
พบในเพศชาย> เพศหญิงในอัตราส่วน = 1.5: 1
ผู้ป่วยภาวะบกพร่องทางสติปัญญา (ปัญญาอ่อน): ระดับเล็กน้อย (Mild) พบ 85% ของผู้ป่วยภาวะบกพร่องทางสติปัญญา: ระดับปานกลาง (Moderate) พบ 10%: ระดับรุนแรง (Severe): ระดับรุนแรงมาก (Profound) พบ 1-2% พบ 4%
สาเหตุ
ด้านร่างกาย
กรรมพันธุ์ พบประมาณ 17 - 41 %
ระยะก่อนคลอดในหญิงตั้งครรภ์
3.เจ็บป่วยในวัยเด็ก
ด้านจิตใจ
15-20% ของผู้ที่มีภาวะบกพร่องทางสติปัญญาจะถูกทอดทิ้งด้านการเลี้ยงดูและด้านสังคมการใช้ภาษาและการมีความผิดปกติด้านจิตที่รุนแรงเช่นโรคออทิสติก
อาการสำคัญ
ตามเกณฑ์การวินิจฉัยโรค DSM-5 (2013) ได้จัดระดับความรุนแรงตามลักษณะความบกพร่องของพฤติกรรมการปรับตัวของเด็กต่อสิ่งแวดล้อมและใช้เป็นเกณฑ์ในการให้ความช่วยเหลือแก่เด็ก
ด้านความคิดรวบยอด (Conceptual domain)
ด้านสังคม (Social domain)
ด้านการปฏิบัติตน (Practical domain)
การวินิจฉัย
1.ประวัติการตั้งครรภ์ของมารดา: ประวัติการเจริญเติบโตและพัฒนาการของเด็ก
การตรวจร่างกาย (Physical examination)
การตรวจสภาพจิต (Mental status examination)
การทดสอบค้านจิตวิทยาเครื่องมือประเมินพัฒนาการและเชาว์ปัญญา
ได้แก่
: Bayley Scales of Infant Development
: Wechsler Preschool and Primary Scale of Intelligence III
: Stanford-Binet Intelligence Scale (5th Ed)
: Kaufman Assessment Battery for Children II
: Wechsler Intelligence Scale for Children (WICS-IV)-แบบวัดทักษะด้านการปรับตัว
: Vineland Adaptive Behavior Scale II (VBAS II)
: AAMR Adaptive Behavior Scales-School (ABS-s II)
การตรวจทางระบบประสาท (Neurological examination)
การตรวจทางห้องปฏิบัติการเช่นการตรวจโครโมโซมฮอร์โมนไทรอยด์ Phenylketonuria
การพยาบาล
1.จัดให้มีผู้ดูแลเด็กอย่างสม่ำเสมอเพื่อให้เด็กเกิดความไว้วางใจและผู้ดูแลสามารถเข้าใจปฏิกิริยาการสื่อความหมายของเด็ก
2.ฝึกทักษะการสื่อความหมายโดยสอนความเข้าใจภาษาการใช้ภาษาการเปล่งเสียงการพูดเพื่อให้เด็กเกิดการเรียนรู้และมีพัฒนาการทางภาษาดีขึ้น
3.ถ้าเด็กไม่พูดให้สอนการใช้ภาษาท่าทางหรือสัญลักษณ์ในการสื่อความต้องการโดยจะต้องสอนซ้ำ ๆ เด็กจึงจะเรียนรู้ได้
การรักษา
การรักษาหลักการพื้นฐานคือช่วยเหลือให้ผู้ป่วยสามารถดำเนินชีวิตในสังคมให้ใกล้เคียงปกติมากที่สุดโคยดูแลรักษาและกระตุ้นพัฒนาการตั้งแต่ระยะแรก (Early intervention) ซึ่งขึ้นอยู่กับ-อายุ-ความรุนแรง: โรคทางกายที่เป็นสาเหตุ-ความสามารถของครอบครัว: ความช่วยเหลือทางสังคม
การรักษาโรคทางกายที่เป็นสาเหตุเช่น: Hypothyroidism: Phenylketonuria,: Hydrocephalus
การรักษาโรคทางกายที่มักพบร่วมด้วยเช่น: Hypothyroidism ในผู้ป่วย Down syndrome: Seizure disorder ในผู้ป่วยภาวะบกพร่องทางสติปัญญาระดับรุนแรง
การรักษาโรคทางจิตเวชในผู้ป่วยภาวะบกพร่องทางสติปัญญา
การทำจิตบำบัดเพื่อให้มีทักษะการปรับตัวที่ดีพึ่งพาตัวเองและเข้าสังคมได้มากขึ้นให้ผู้ป่วยเข้าใจ
การให้คำปรึกษาครอบครัวเพื่อให้คำปรึกษาและความช่วยเหลือแก่ครอบครัวเพื่อให้ครอบครัวสามารถดูแลผู้ป่วยได้อย่างต่อเนื่องในช่วงวัยต่าง ๆ
การช่วยเหลือด้านการศึกษาโดยการจัดแผนการศึกษาที่เหมาะสมรายบุคคลตามความสามารถของผู้ป่วย (Individualized Educational Program: IEP)
การออกหนังสือรับรองความพิการตามพรบ. การฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการ พ.ศ. 2543 (คนพิการคือผู้ที่มีความบกพร่องทางด้านร่างกายสติปัญญาและจิตใจ) เพื่อให้คนพิการได้มีโอกาสทำงานและดำรงชีวิตทัดเทียมคนปกติ
ปัญหาทางการพยาบาล
มีความบกพร่องของการสื่อความหมาย