Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคพฤติกรรมเกเร (Conduct Disorder) - Coggle Diagram
โรคพฤติกรรมเกเร (Conduct Disorder)
ความหมาย
เป็นโรคที่แสดงพฤติกรรมที่ละเมิดต่อบรรทัดฐานทางสังคมกฎระเบียบกฎหมายสิทธิของผู้อื่นโดยจะเกิดซ้ำๆ และคงอยู่ตลอดเวลาเด็กและวัยรุ่นที่เป็นโรคนี้จะมี
-ความบกพร่องในด้านความสามารถที่จะทำหน้าที่ของตนเองในสังคมการศึกษาและการประกอบอาชีพ
-แสดงพฤติกรรมที่แสดงถึงความใจดำและเลือดเย็น (Callous and unemotional) คล้ายผู้ใหญ่ที่มีบุคลิกภาพผิดปกติชนิดต่อต้านสังคม
-มีความเห็นอกเห็นใจผู้อื่นเพียงเล็กน้อย
-ไม่แสดงความสำนึกผิดต่อพฤติกรรมที่ไม่ดีของตนเอง
-มีความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองต่ำ (Low self-esteem)
-มีความอดทนต่ำมีการระเบิดอารมณ์จากการควบคุมตนเองไม่ได้โรคพฤติกรรมเกเรส่วนใหญ่จะมีความสัมพันธ์กับการเข้าไปข้องเกี่ยวกับพฤติกรรมทางเพศการดื่มสุราสูบบุหรี่การใช้สารเสพติดและการมีพฤติกรรมเสี่ยง
อาการสำคัญ
ล่วงละเมิดสิทธิของผู้อื่น
ฝ่าฝืนกฎเกณฑ์
ของสังคมในช่วง 12 เดือนที่ผ่านมา
สาเหตุ
ปัจจัยด้านชีวภาพ (Biological factors) ได้แก่ พันธุกรรมลักษณะพื้นอารมณ์ความผิดปกติของสมองและเชาว์ปัญญา
ปัจจัยด้านจิตสังคม (Psychosocial factors) ได้แก่
-การมีฐานะทางเศรษฐกิจและสังคมอยู่ในระดับต่ำอยู่กันอย่างแออัดบิดามารดาหย่าร้างโดยมีการทะเลาะกันก่อนหย่าร้างเด็กจะรู้สึกขมขึ้นต่อเหตุการณ์บิดามารดาใช้สารเสพติด
-บิดามารดาถูกทำร้ายในวัยเด็กแล้วมาทำร้ายเด็กต่อ
-เด็กถูกกระทบกระเทือนทางจิตใจเช่นถูกทำร้ายร่างกายถูกล่วงละเมิดทางเพศ
-การเผชิญเหตุการณ์ที่ทารุณจิตใจจนเกิด Post traumatic stress disorder (PTSD)
-เด็กเรียนไม่ดีหรือมีความผิดปกติด้านการเรียนรู้ (Learning disorders) การได้รับการเลี้ยงดูจากพ่อแม่ที่มีพยาธิสภาพทางจิตทำให้เด็กได้รับการลงโทษอย่างรุนแรงหรือมีลักษณะไม่คงเส้นคงวา
-เด็กมีอาการเจ็บป่วยเรื้อรังทางสมองเช่นอาการชัก
อุบัติการณ์
สามารถพบโรคนี้ได้ 2-10% อัตราความชุกจะใกล้เคียงกันในหลายประเทศ-จะมีอัตราสูงขึ้นในเด็กสู่วัยรุ่น-พบในชาย 6-12%-พบในหญิง 2-9%-พบในสังคมเมืองมากกว่าในชนบท
การวินิจฉัย
การวินิจฉัยตามเกณฑ์DSM-5 ของสมาคมจิตแพทย์อเมริกัน (APA)
A รูปแบบของพฤติกรรมที่ท้าอย่างต่อเนื่องในการแสดงการละเมิดสิทธิขั้นพื้นฐานทางสังคมของผู้อื่นต้องปรากฏอาการอย่างน้อย 3 ข้อจากเกณฑ์ที่ก้าหนดทั้งหมด 15 ข้อในช่วงเวลา 12 เดือนที่ผ่านมา และอย่างน้อย 1 เกณฑ์ที่ท้าติดต่อกันไม่น้อยกว่า 6 เดือน
ความก้าวร้าวต่อบุคคล และสัตว์
มักทำตัวเป็นอันธพาล คุกคาม ข่มขู่ กรรโชกให้ผู้อื่นหวาดกลัว
เป็นผู้เริ่มต้นในการใช้กำลังต่อสู็
ใช้อาวุธในการทำร้ายร่างกายผู้อื่น
เคยทำร้ายร่างกายคนอย่างโหดร้าย
เคยทำร้ายสัตว์อย่างทารุณ
เคยขโมยทรัพย์สินโดยเผชิญหน้าเหยื่อผู้เคราะห์ร้าย
การบังคับผู้อื่นให้ร่วมเพศด้วย
การท้าลายทรัพย์สิน
วางแผนการวางเพลิงอย่างรอบคอบ โดยตั้งใจให้เกิดความเสียหายอย่างร้ายแรง
วางแผนทำลายทรัพย์สินของผู้อื่น (นอกเหนือจากการวางเพลิง)
การหลอกลวง และลักทรัพย
งัดแงะเข้าไปในบ้านของผู้อื่น อาคาร หรือรถยนต
มักโกหกเพื่อให้ได้สิ่งที่ต้องการหรือเลี่ยงภาระหน้าที่ต่าง ๆ
การละเมิดกฎระเบียบอย่างรุนแรง
ออกนอกบ้านตอนกลางคืนบ่อยครั้งแม้บิดามารดาไม่เห็นด้วยโดยเหตุการณ์เกิดขึ้นก่อนอายุ 13 ปี
หนีออกจากบ้านทั้งคืนอย่างน้อยสองครั้งขณะที่ยังอาศัยอยู่กับบิดามารดาที่บ้านหรือหนีออกไปอยู่นอกบ้านในช่วงระยะเวลาหนึ่งเป็นเวลานาน ๆ
หนีโรงเรียนก่อนอายุ 13 ปี
B พฤติกรรมที่ผิดปกตินี้ทำให้เกิดความบกพร่องอย่างมีนัยสำคัญทางการแพทย์และส่งผลในการใช้ชีวิตในสังคมด้านการศึกษาหรือด้านการประกอบอาชีพ
C ถ้ามีอายุตั้งแต่ 18 ปีหรือมากกว่าอาการเหล่านี้ต้องไม่อยู่ในเกณฑ์ของการวินิจฉัยโรคบุคลิกภาพผิดปกติชนิดต่อต้านสังคม (Antisocial personality disorder)
การพยาบาล
สร้างสัมพันธภาพเพื่อการบำบัดกับเด็ก บิดามารดา และครู เพื่อให้เกิดความร่วมมือในการแก้ไขปัญหา
จัดให้พยาบาลคนเดียวดูแลเด็กเพื่อสร้างความไว้วางใจ
แนะน าการสร้างทักษะการควบคุมอารมณ์โกรธ และการผ่อนคลายความเครียด และให้ลองฝึกปฏิบัต
ใช้เทคนิคต่าง ๆ ในการควบคุมพฤติกรรมเด็ก เช่น กาเพิกเฉย การตัดสิทธิต่าง ๆ ซึ่งไม่ใช่การตี
พูดคุย ท าความเข้าใจให้เด็กเข้าใจถึงการกระท าที่ไม่เหมาะสมของตนเองที่ส่งผลร้ายต่อผู้อื่น
ส่งเสริมศีลธรรม และความยุติธรรม เพื่อพัฒนาความสามารถในการเข้าใจความรู้สึกของบุคคลอื่น
แนะนำกิจกรรมที่สร้างสรรค์ ให้เด็กฝึกปฏิบัต
ดูแลให้ได้รับยาตามแผนการรักษา
ปัญหาทางการพยาบาล
เสี่ยงต่อการใช้ความรุนแรงด้านการใช้ก าลัง การใช้อารมณ์ และความรุนแรง
ทางเพศ เนื่องจากพัฒนาการของระบบประสาทบกพร่อง หรือท างานไม่ปกต
การรักษา
การป้องกันพฤติกรรมเกเรได้ผลดีกว่าการรักษา
การรักษาในระยะเริ่มแรกจะได้ผลดีกว่าการปล่อยไว้ระยะเวลานาน ๆ แล้วค่อยมารักษาการรักษาไม่ควรกักขังเด็กและให้เด็กได้ใช้ชีวิตตามปกต
ควรให้การรักษาหลาย ๆ วิธีจะให้ผลดีกว่าการรักษาโดยวิธีการเดียว
การรักษาทางจิตสังคม
การบ้าบัดโดยการฝึกฝนบิดามารดา (parenting training therapy)
ครอบครัวบ้าบัด (Family therapy)
การรักษาด้วยยา (Medications)