Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลในระยะที่ 1 ของการคลอด - Coggle Diagram
การพยาบาลในระยะที่ 1 ของการคลอด
การรับใหม่
ซักประวัติ
อาการที่นำผู้คลอดมาโรงพยาบาล
การเจ็บครรภ์
เจ็บครรภ์จริง
ปวดท้องเหมือนอยากถ่าย
มดลูกหดรัดตัวทุก 10-15 นาที และถี่ขึ้นเรื่อยๆ
เริ่มเจ็บบริเวณส่วนล่าง บั้นเอวร้าวไปถึงหน้าท้อง
อาการเจ็บจะไม่หาย เมื่อทำกิจกรรม หรือหากเดินจะเจ็บมาก
ไม่หายเจ็บ แม้จะใช้การผ่อนคลาย หรือ Sedative
เจ็บครรภ์เตือน
เจ็บเฉพาะบริเวณหน้าท้อง
มดลูกหดรัดตัวน้อย ไม่สม่ำเสมอ
อาการเจ็บจะหายไป เมื่อเปลี่ยนท่า หรือเดิน
อาการเจ็บจะหายไป เมื่อได้รับยาบรรเทาอาการปวด
มีมูก
น้ำเดิน หรือถุงน้ำแตก (Rupture of membrars)
ประวัติด้านสูติกรรม
อดีต
ประวัติภาวะแทรกซ้อนขณะตั้งครรภ์
ประวัติการคลอด
ชนิดของการคลอด
จำนวนครั้งของการคลอด
อายุครรภ์ขณะคลอด
ประวัติของทารก
ประวัติความผิดปกติ
จำนวนบุตรที่ยังมีชีวิตอยู่
น้ำหนักแรกเกิด
เพศ
ประวัติการแท้ง การขูดมดลูก
ปัจจุบัน
ลำดับการตั้งครรภ์
อายุครรภ์
ภาวะแทรกซ้อน
ประวัติการแพ้ยา สารอาหาร และการผ่าตัด
ความเจ็บป่วยทางอายุรกรรม ศัลยกรรม ทั้งในอดีตและปัจจุบัน และประวัติการเจ็บป่วยในอดีต
โรคเรื้อรัง
โรคเบาหวาน
โรคหัวใจ
โรคเลือด
โรคปอด
ประวัติการติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์
ข้อมูลส่วนบุคคล
อายุ
อาชีพ
ชื่อ-สกุล
ระดีบการศึกษา
สถานภาพสมรส
สิทธิการรักษา
ถิ่นที่อยู่อาศัย
การนับถือศาสนา
ประวัติทางด้านจิตใจ
ความคาดหวังต่อการคลอด
ประสบการณ์การตั้งครรภ์และการคลอด
ความกลัวและความวิตกกังวลในการคลอด
การวางแผนการตั้งครรภ์และการคลอด
สัมพันธภาพในครอบครัว และการช่วยเหลือทางสังคม
ความรู้และเจตคติต่อการคลอด
การตรวจร่างกาย
ตรวจร่างกายทั่วไป
ลักษณะทั่วไป
ซีด
บวม
รูปร่าง
สูงน้อยกว่า 145 เซนติเมตร อาจมีเชิงกรานแคบ
ผลการตรวจเลือด
ผลการตรวจปัสสาวะ
พฤติกรรมการแสดงออกถึงความเจ็บป่วย
วัดสัญญาณชีพ
น้ำหนัก
หากอ้วนมาก อาจทำให้คลอดยาก และมีผลต่อท่าคลอด
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ตรวจปัสสาวะ
เพื่อตรวจน้ำตาลและโปรตีนในปัสสาวะ
ตรวจเลือด
Anti-HIV
VDRL
Hemoglobin
HBsAg
Hematocrit
ผลการตรวจพิเศษ
Ultrasonography
ผลการตรวจ NST
การดู
การฟัง
การคลำ
เพื่อประเมินความสัมพันธ์ของระดับยอดมดลูกกับอายุครรภ์
อัตราการเต้นของหัวใจปกติ
ตำแหน่งของเสียงหัวใจทารก
ลักษณะของมดลูก
การเคลื่อนไหวของทารก
ขนาดท้อง
ลักษณะทั่วไปของท้อง
การตรวจภายใน
ตรวจหาส่วนนำ
ตรวจหาท่าของทารก
ตรวจสภาพของน้ำทูนหัว
ลักษณะของถุงน้ำ
ตรวจหาขนาดของก้อนโน และการเกยกันของกระดูก
การเตรียมผู้คลอด
การเตรียมผู้คลอดทางด้านจิตใจ
1 more item...
การเตรียมผู้คลอดทางด้านร่างกาย
1 more item...
สภาพของปากมดลูก
การบวมของปากมดลูก
ตำแหน่งของปากมดลูก
การตรวจทางช่องคลอด
ระยะ Latent ตรวจทุก 4 ชั่วโมง
ระยะ Active ตรวจทุก 2 ชั่วโมง
การประเมินความก้าวหน้าของการคลอด
การหดรัดตัวของมดลูก
สังเกตหน้าท้องว่ามี Bandl's ring.
การประเมินการหดรัดตัวของมดลูก
การประเมินโดยใช้เครื่องอิเล็กโทรนิก
การใช้เครื่อง Electronic feto monitoring (EFM)
ใช้ประเมินการหดรัดตัวของมดลูกได้
ประเมินอัตราการเต้นของหัวใจทารกในครรภ์
การประเมินโดยการวางฝ่ามือบนยอดมดลูก
Frequeancy
Intensity
Interval
Duration
Active phase
Cx. dilate 3-9 cms. Duration 45-60 วินาที
Interval 3-5 นาที
Intensity mild (++)
Deceleration phase
Cx. dilate 9-10 cms. Duration 60-90 วินาที Interval 2-3 นาที Intensity mild (+++)
Latent phase
Cx. dilate ไม่เกิน 3 cms. Duration 15-20 วินาที
Interval 10-15 นาที
Intensity mild (+)
การเคลื่อนต่ำของส่วนนำ
จำนวนและลักษณะของมูกที่ปากมดลูก
การหมุนภายในของศีรษะทสรก
ประเมินได้จากการตรวจแนวของรอยต่อแสกกลาง และตำแหน่งของขม่อมหลังของทารก
ประเมินภาวะแทรกซ้อน
สายสะดือย้อย
ถุงน้ำคร่ำแตกก่อนมีอาการเจ็บครรภ์
การคลอดยาวนาน
การคลอดยาก
ความผิดปกติในการหดรัดตัวของมดลูก
การสั้น บาง และการเปิดขยายตัวของมดลูก
มดลูกมีการหดรัดตัวดีจะทําให้ปากมดลูกบางและเปิดขยายมากขึ้นตามลําดับ จนปากมดลูกเปิดหมดคือ 10 เซนติเมตร และบาง 100% การเปิดขยายของปากมดลูกเป็นตัวบ่งชี้ที่ชัดเจนว่าการคลอดมีความก้าวหน้าหรือไม่
ครรภ์แรก Descent>1 ชม./ซม.
ครรภ์หลัง Descent>2 ชม./ซม.
การพยาบาล
กิจกรรมหรือการเบี่ยงเบนความสนใจ
ระยะปากมดลูกเปิด 4-8cm. แนะนำให้จิตใจจดจ่อ และนับลมหายใจ
ระยะปากมดลูกเปิด 8-10 cm. แนะนำให้หายใจลึกๆ
ระยะปากมดลูกเปิด 1-4 cm. แนะนำให้เดิน พูดคุย หรืออ่านหนังสือ
ดูแลความสุขสบายทั่วๆ ไป จัดสิ่งแวดล้อมให้น่าอยู่ สะอาด และในรายที่มีถุงน้ำคร่ำแตก ควรใส่ผ้าอนนามัย เพื่อสังเกตลักษณะของน้ำคร่ำ และเพื่อป้องกันการติดเช้า
การฝึกหายใจ
Active phase ปากมดลูกเปิด 3-8 ซม. (หายใจช้าๆ แบบตื้น เบา เร็ว) โดยมีวิธีดังนี้ มดลูกหดรัดตัว หายใจเข้า-ออกช้าๆ มดลูกหดรัดตัวเต็มที่ หายใจแบบตื้น เบา เร็ว ประมาณ 4 ครั้ง เป่าออกทางปาก 1 ครั้ง
Transition phase ปากมดลูกเปิดตั้งแต่ 8 ซม. (หายใจแบบตื้น เบา เร็ว และเป่าออก)โดยมีวิธีดังนี้ มดลูกหดรัดตัว หายใจตื้น เบา เร็ว ประมาณ 4 ครั้ง เป่าออกทางปาก 1 ครั้ง
Latent phase ปากมดลูกเริ่มเปิด 3 ซม. (หายใจแบบช้าๆ) โดยมีวิธีดังนี้ สูดลมหายใจเข้าจมูกช้าๆ นับ 1-2-3-4 แล้วค่อยๆ ผ่อนลมออกทางปากช้าๆ นับ 1-2-3-4
การกดจุด (Acupressure) ปรับพลังงานให้เข้ากับสมดุล โดยวิธีการนวดเท้า เพื่อสลายสิ่งอุดตันตามอวัยวะ
ประเมิน FSH ทุก 1 ชั่วโมง ใน Latent phase และทุก 30 นาทีใน Active phase เพื่อประเมินสุขภาวะของทารกในครรภ์
สอนวิธีลูบหน้าท้อง ตั้งแต่หัวหน่าวว วนตามหน้าท้องเพื่อหันเหความเจ็บปวด และช่วยลดอาการปวดหลัง โดยให้ผู้ป่วยนอนตะแคงซ้าย งอเข่าเล็กน้อย และช่วยนวดบริเวณต้นขาและบริเวณกระดูกก้นกบให้กับผู้คลอด
วัด Vital sign ทุก 4 ชั่วโมง โดยสังเกตอาการอย่างใกล้ชิด
ดูแลให้ได้รับสารน้ำ และสารอาหารอย่างเพียงพอ เพื่อการเจริญเติบโตของทารกในครรภ์
อธิบายให้ผู้คลอดเข้าใจเกี่ยวกับกระบวนการคลอด รวมทั้งแผนการรักษาและการช่วยเหลือในระยะคลอด
การจัดท่าที่เหมาะสม (Positioning) มีประโยชน์ดังนี้ ท่ายืนและท่าเดิน จะทำให้ความเจ็บปวดจากการหดรัดตัวของมดลูกลดลง
ท่ายืนหรือท่านั่ง เอาลำตัวส่วนหน้าพิง และท่าคลานจะทำให้ความไม่สุขสบายจากการปวดหลังลดลง ท่านอนตะแคงจะทำให้สุขสบาย การไหลเวียนของโลหิตไปยังรกดีขึ้น ท่าของผู้คลอดควรเปลี่ยนทุก 30-60 นาที เพื่อเพิ่มความสุขสบาย และลดความเมื่อยล้าของกล้ามเนื้อ
หลักการประเมินสภาวะของทารกในครรภ์
การเปิดขยายของปากมดลูก
ในระยะ Latent ระยะนี้ไม่ควรนานเกิน 8 ชั่วโมง
ในระยะ Active อัตราการเปิดขยายของปากมดลูกไม่ควรน้อยกว่า 1 ซม./ชม.
การเต้นของหัวใจทารก
ปกติ P=110-160 ครั้ง/นาที
ฟังหลังมดลูกคลายตัว
ประมาณ 20-30 วินาที
ในผู้คลอดที่มีภาวะเสี่ยง
ภาวะเสี่ยงต่ำ
ในระยะ Latent ควรฟังทุก 1 ชั่วโมง
ในระนะ Active ควรฟังทุก 30 นาที
ภาวะเสี่ยงสูง
ในระยะ Latent ควรฟังทุก 30 นาทีในระนะ Active ควรฟังทุก 15 นาที
ลักษณะของน้ำคร่ำ
น้ำคร่ำจะขุ่นคล้ายน้ำมะพร้าว เนื่องจากมีไขของทารกปกออกมา
A = Absent ถุงน้ำแตก แต่ตรวจภายในไม่พบ
C = Clear liqour draining (น้ำคร่ำใสปกติ)
M = Meconium stained liqour draining (น้ำคร่ำมีขี้เทาปน)
B = Blood stained (น้ำคร่ำปนเลือด)
การวิเคราะห์เลือดของทารกในครรภ์
ปกติเลือดของทารกในครรภ์
จะมีค่า pH อยู่ระหว่าง 7.20-7.45