Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลในระยะที่ 1 ของการคลอด, นางสาวปวีณา หมื่อโป เลขที่ 51 - Coggle…
การพยาบาลในระยะที่ 1 ของการคลอด
คุณลักษณะของพยาบาล
มีการตัดสินใจที่ดีและมีความพร้อมในการช่วยเหลือเมื่อเกิดภาวะแทรกซ้อนขึ้น
มีความตื่นตัวในการค้นพบความผิดปกติตั้งแต่ระยะเริ่มแรก
มีความสามารถและชำนาญในเทคนิคต่างๆ ที่ทำให้ผู้คลอดปลอดภัย
มีความสามารถในการค้นหาความต้องการของหญิงที่อยู่ในระยคลอดและดูแลตามความต้องการนั้น
มีความรู้เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงทางสรีระวิทยา
มีสัมพันธ์ภาพที่ดี มีความเห็นอกเห็นใจหญิงตั้งครรภ์ที่อยู่ในระยของการคลอด
การรับใหม่ผู้คลอด
การให้การต้อนรับ
เพื่อให้ผู้คลอดได้รับความอบอุ่น มีความมั่นใจในตัวเรา
ให้การต้อนรับด้วยไมตรีจิต สุภาพอ่อนโยน
การประเมินผู้คลอดแรกรับใหม่
ซักประวัติ
ประวัติทางสูติกรรม เช่น ประวัติการขูดมดลูก
ประวัติความเจ็บป่วยทางอายุรกรรม และศัลยกรรม ทั้งปัจจุบัน และอดีต
ประวัติจากอาการนำที่ผู้คลอดมาโรงพยาบาล Labor pain Show น้ำเดินหรือถุงน้ำแตก
ประวัติการแพ้ยาและสารอาหารต่างๆ การผ่าตัด
ประวัติการเจ็บป่วยของบุคคลในครอบครัว เช่น ครรภ์แฝด โรคเลือด โรคเบาหวาน โรคความดัน
ข้อมูลส่วนบุคคล-ชื่อ สกุล ที่อยู่ อายุ
ประวัติด้านจิตสังคม
ทัศนคติเกี่ยวกับการคลอด
ความกลัวและความวิตกกังวลประเมินจากคำพูดกิริยาท่าทางและสีหน้าที่แสดงออก
อายุเพื่อประเมินวุฒิภาวะ
ศาสนาพื้นฐานทางวัฒนธรรมความเชื่อ
การได้รับการสอนเกี่ยวกับการเตรียมตัวเพื่อการคลอด จำนวนครั้งที่มาฝากครรภ์ และ แพทย์ผู้ดูแล
การตรวจร่างกาย
การตรวจร่างกายเฉพาะที่
การคลำ
Leopold Handgrip
อายุครรภ์หรือระยะเวลาของการตั้งครรภ์ (period of gestation)
แนวลำตัวเด็ก (presentation)
ส่วนนำของเด็ก (presentation)
ท่าของเด็ก (position)
การลงในอุ้งเชิงกรานของศีรษะเด็ก (engagement)
สภาพของเด็กในครรภ์ (condition)
การฟัง
การฟังเสียงหัวใจทารก คือบริเวณสะบักซ้าย
เสียงหัวใจทารกประมาณ 120-160 ครั้ง / นาที
ทารกที่ครบกำหนดมีศีรษะเป็นส่วนนำเสียงหัวใจจะได้ยินที่ต่ำกว่าระดับสะดือ
การดู
การเคลื่อนไหวของทารก
ลักษณะมดลูกโตตามยาวหรือตามขวางเพื่อดูว่าทารกอยู่ในท่าหัวท่ากันหรือท่าขวาง
ขนาดของท้องถ้าหน้าท้องมีขนาดใหญ่อาจมีการตั้งครรภ์แฝดหรือมีภาวะน้ำคร่ำมาก
ลักษณะทั่วไปของท้อง เช่น มีหน้าท้องย้อย หรือกล้ามเนื้อหน้าท้องแยกห่างกัน
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ผลการตรวจปัสสาวะ: น้ำตาลและโปรตีนในปัสสาวะ หากพบความผิดปกติจะต้องรายงานแพทย์
Ultrasonography ซึ่งสามารถนำมาประกอบในการประมาณอายุครรภ์และทราบความผิดปกติของทารกในครรภ์
ผลการตรวจเลือด เลือดเพื่อการตรวจวินิจฉัยโรคปัญหาภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้น
การตรวจร่างกายทั่วไป
ลักษณะทั่วไป โลหิตจาง การบวม
สัญญาณชีพ
อุณหภูมิ ติดตามการติดเชื้อ ขาดน้ำ
อัตราชีพจรถ้ามากกว่า 90 ครั้งต่อนาที เบา เร็ว
ความดันโลหิตอยู่ระดับ 110-120 / 70-80 mmHg
การหายใจมีอาการหอบหรือไม่ซึ่งปกติควรอยู่ระหว่าง 16-20 ครั้งต่อนาที
ลักษณะรูปร่าง- ความสูง
น้ำหนัก บวม อ้วน
ประเมินความก้าวหน้าของการคลอด
ตรวจการหดรัดตัวของมดลูก
External electronic monitoring
Transitional phase ทุก 15 นาที
Second stage ทุกๆครั้งที่มดลูกหดรัดตัว
Active phase ทุก 15-30 นาที
Latent phase ทุก 30 นาที
การประเมินโดยการวางฝ่ามือบนยอดมดลูก
ระยะเวลาการหดรัดตัวของมดลูก (duration)
ระยะห่างของการหดรัดตัวแต่ละครั้งของมดลูก (interval)
ความถี่ของการหดรัดตัวของมดลูก (frequeancy)
ความแรงของการหดรัดตัว (intensity)
การเปิดขยายและความบางของมดลูก
ส่วนนำมีการเคลื่อนต่ำลงมาเรื่อยๆ
Sagittal suture ของศีรษะทารกหมุนมาอยู่ในแนว A-P diamete
ปากมดลูกเปิดหมดคือ 10 เซนติเมตรและบางหมด 100%
การเคลื่อนต่ำของส่วนนำและการหมุนของศีรษะทารก
ตรวจภายใน (Sterile vaginal examination)
การตรวจทางช่องคลอด
ระยะ active ควรตรวจทุก 2 ชั่วโมง
ระยะ latent ควรตรวจทุก 4 ชั่วโมง
ตำแหน่งที่ฟัง Fetal heart sound
การคลอดก้าวหน้าทารกจะเคลื่อนต่ำลงมาตำแหน่งที่ฟังอัตราการเต้นของหัวใจทารกได้เลื่อนต่ำลง
อัตราการเต้นของหัวใจทารอยู่ที่ Symphysis pubis แสดงว่าใกล้คลอด
ลักษณะน้ำคร่ำ
Clear liqour draining (น้ำคร่ำใสปกติ)
Meconium stained liqour draining (น้ำคร่ำมีขี้เทาปน)
Absent ถุงน้ำแตก แต่ตรวจภายในไม่พบน้ำคร่ำ
Blood stained (น้ำคร่ำปนเลือด
ขี้เทาปน = อาจขาดออกซิเจนได้
การดิ้นของทารกในครรภ์
10 ครั้งในช่วงระยะเวลา 12 ชั่วโมง
ออกซิเจนไม่เพียงพออาจส่งผลให้ทารกในครรภ์คนน้อยลง
การพยาบาล
การพยาบาล
อธิบายให้ผู้คลอดเข้าใจเกี่ยวกับกระบวนการคลอด รวมทั้งแผนการรักษาและการช่วยเหลือในระยะคลอด
วัด Vital sings ทุก 4 ชั่วโมง โดยสังเกตอาการอย่างใกล้ชิด
ประเมิน FHS ทุก 1 ชั่วโมง ใน latent phase และ ทุก 30นาที. ใน active phase เพื่อประเมินสุขภาวะของทารกในครรภ์
ดูแลความสุขสบายทั่วๆไป จัดสิ่งแวดล้อมให้น่าอยู่ สะอาด ในรายที่ถุงน้ำแตกควรใส่ผ้าอนามัยเพื่อสังเกตลักษณะน้ำคร่ำและป้องกันติดเชื้อ
สอนวิธีการลูบหน้าท้องตั้งแต่หัวเหน่า วนตามหน้าท้องเพื่อหันเหความเจ็บปวดช่วยลดอาการปวดหลังโดยให้ผู้ป่วยนอนตะแคงซ้ายงอเข่าเล็กน้อยและช่วยนวดบริเวณต้นขาและบริเวณกระดูกก้นกบให้ผู้คลอด
การกดจุด (Acupressure) ปรับพลังงานให้เข้ากับสมดุล โดยวิธีการนวดเท้าเพื่อสลายการอุดตันตามอวัยวะ
ดูแลได้รับสารน้ำและสารอาหารอย่างเพียงพอ เพื่อการเจริญเติบโตของทารกในครรภ์
กิจกรรมหรือการเบี่ยงเบนความสนใจ
ระยะปากมดลูกเปิด 1-4 cm. แนะนำให้เดิน พูดคุย หรืออ่านหนังสือ
ระยะปากมดลูกเปิด 4-8 cm. แนะนำให้จิตใจจดจ่อ นับลมหายใจ
ระยะปากมดลูกเปิด 8-10 cm. แนะนำให้หายใจลึกๆ
การฝึกหายใจ
Latent phase ปากมดลูกเริ่มเปิด- 3 ซม. (หายใจแบบช้าด้วยอก) โดยมีวิธีดังนี้ สูดลมหายใจเข้าจมูกช้าๆ นับ 1-2-3-4 ค่อยๆ ผ่อนลมออกทางปากช้าๆ นับ 1-2-3-4
Active Phase ปากมดลูกเปิด 3-8 ซม. (หายใจช้าๆ สลับกับการหายใจแบบตื้น เบา เร็ว) โดยมีวิธีดังนี้ มดลูกหดตัวรัดตัว หายใจเข้า-ออกช้า มดลูกหดรัดตัวเต็มที่ หายใจแบบตื้น เบา เร็ว ไปเรื่อยๆ มดลูกเริ่มคลายตัว หายใจเข้า-ออกช้า
Transition phase ปากมดลูกเปิดตั้งแต่ 8 ซม. (หายใจแบบตื้น เบา เร็วและเป่าออก) โดยมีวิธีดังนี้ มดลูกหดรัดตัว หายใจตื้น เบา เร็ว ประมาณ 4 ครั้ง เป่าออกทางปาก 1 ครั้ง
นางสาวปวีณา หมื่อโป เลขที่ 51