Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การเงินการคลังสุขภาพ - Coggle Diagram
การเงินการคลังสุขภาพ
แหล่งการเงินการคลังในระบบบริการสาธารณสุข
แหล่งการคลังอื่นๆ
เงินช่วยเหลือจากต่างประเทศ
เงินอื่นๆ
แหล่งเงินจากภาคเอกชน
รายจ่ายโดยตรงจากครัวเรือน (Out of pocket)
รายจ่ายจากระบบประกันสุขภาพโดยสมัครใจ (ประกันชีวิต)
แหล่งเงินจากภาครัฐ
สวัสดิการข้าราชการ
รายจ่ายจากองค์การปกครองส่วนท้องถิ่น
งบประมาณภาครัฐ
ข้อดีละข้อเสียแหล่งการเงินการคลังในระบบบริการสาธารณสุข
แหล่งการคลังอื่นๆ
ไม่แน่นอนขึ้นอยู่กับสภาพความรุนแรงของปัญหาภายในประเทศ
แหล่งเงินจากภาคเอกชน
ขาดเสถียรภาพง่ายขึ้นอยู่กับภาวะวิกฤตเศรษฐกิจ (การถูกเลิกจ้างงาน รายจ่ายเพิ่มขึ้น)
หาบริการอื่นทดแทนได้
แหล่งเงินจากภาครัฐ
มีเสถียรภาพมากได้จากการเก็บภาษี (Taxation)
ขึ้นอยุ่กับนโยบายทางการเมือง
เป้าหมายของการคลังสุขภาพ (Health financing objective)
จัดระบบกลไกการใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัดให้เกิดประโยชน์สูงสุด (Setting up the system for managing the health care resources)
การเลือกซื้อบริการ (Purchase)
จะเลือกซื้อบริการอะไร Which services?
การจ่ายค่าบริการ (Reimbursement
เพื่อให้ผู้ให้บริการมีแรงจูงใจในการให้บริการ
มีประสิทธิภาพในการบริการสูง จ่ายค่าบริการอย่างไร อัตราเท่าใด
ให้ประชาชนเข้าถึงบริการสุขภาพที่มีประสิทธิภาพเท่าเทียมกัน (Access and Coverage of health care services)
จ่ายเงินอย่างไรให้ประชาชนได้รับบริการเท่าเทียมกัน
ทำให้เงินเพียงพอในการจัดบริการสุขภาพ (How to get enough revenue for health service delivery)
ประเทศปานกลาง ( Middle income country )
จะทำอย่างไรจึงจะมีหลักประกันสุขภาพครอบคลุม
ประเทศร่ำรวย ( High income country )
จะควบคุมค่าใช้จ่ายที่เพิ่มขึ้นได้อย่างไร
ประเทศยากจน ( Low income country )
จะหาเงินมาจากไหนให้พอในการจัดบริการ
ปัญหาระหว่างผู้เอาประกัน และผู้ให้บริการ
องค์กรประกัน
คัดเลือกกลุ่มเสี่ยง risk selection กรณี voluntary insurance
ผู้ให้บริการ
การให้บริการเกินความจำเป็น (Over-sevie)
จริยธรรมการให้บริการ (Provider moral hazard)
การให้บริการต่ำกว่าที่ควรจะเป็น (Under-service)
ผู้เอาประกัน
จริยธรรมการใช้บริการ (User moral hazard) โดยการใช้บริการากเกินจำเป็น
กลุ่มเสี่ยงซื้อประกันมาก (Adverse selection) กรณี voluntary insurance
ประเภทของการประกันสุขภาพ (Type of health insurance)
การประกันสุขภาพแบบบังคับ (Compulsory health insurance) หรือ (Bismarck model)
การประกันสุขภาพแบบสมัครใจ (Voluntary health insurance)
การสร้างหลักประกันสุขภาพจากระบบภาษี (Tax-based health insurance) หรือ (Beveridge model)
ระบบประกันสุขภาพของประเทศไทย
รูปแบบหลักประกันสุขภาพในประเทศไทย
กองทุนเงินทดแทน (workmen's compensation) :Compulsory insurance
สวัสดิการข้าราชการ (Civil Servant Medical Benefit Scheme : CSMBS) : Fringe benefit
ประกันสังคม ภาคบังคับ (Social Security Scheme SSS) : Compulsory insurance
ประกันผู้ประสบจากรถ (Traffic Accident Protection Scheme : TAPS) : Compulsory insurance
ประกันสุขภาพสมัครใจ (บัตรสุขภาพ) : Voluntary insurance
ประกันสุขภาพเอกชน : Voluntary insurance
สวัสดิการสังคม (public welfare) : welfare
รูปแบบการประกันสุขภาพในประเทศไทย
ประกันสังคม กองทุนเงินทดแทน การประกันภัยภายใต้ พรบ. คุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ (การประกันสุขภาพภาคบังคับ)
ระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้า ( 30 บาทรักาาทุกโรค)
สวัสดิการรักษาพยาบาลและ พนักงานรัฐวิสาหกิจ
ประกันกับบริษัทเอกชน (แบบสมัครใจ)
สิทธิประโยชน์ในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
เจ็บป่วยทั่วไป ที่ไม่ใช่อาการฉุกเฉิน
แนวทางการใช้สิทธิ
เข้ารับบริการที่หน่วยบริการประจำตามสิทธิ ติดต่อที่หน่วยปฐมภูมิก่อนเสมอ
แจ้งขอใช้ สิทธิหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ก่อนเข้ารับบริการพร้อมแสดงหลักฐานประกอบ ได้แก่ บัตรประจำตัวประชาชน หรือเอกสารทางราชการที่มีรูปถ่าย มีเลขบัตรประจำตัวประชาชน หากเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี ใช้ สูติบัตร แทน
ประกันสังคม
นายจ้างที่มีลูกจ้างตั้งแต่ 1 คนขึ้นไป จ่ายเงินสมทบทุนภายใน 30 วัน
รัฐบาลร่วมจ่ายร้อยละ 2.5 ขอบเบงินเดิอน
จำนวนเวินสมทบคิดจากฐานค่าจ้างขั้นต่ำ 1,650 บาท จ่ายไม่เกิน 15,000 บาทต่อเดือน
นายจ้างจ่ายร่วมร้อยละ 4.5 ของเงินเดือน
ผู้ประกันตนร่มวจ่ายร้อยละ 4.5 ของเงินเดือน
สิทธิประโยชน์กรณีเจ็บป่วย
รักษาในสถานพยาบาลของรัฐ
ผู้ป่วยใน เบิกเท่าที่จ่ายจริง ตามความจำเป็น ค่าห้องและอาหารเบิกได้ไม่เกินวันละ 700 บาท
ผู้ป่วยนอก เบิกเท่าที่จ่ายจริง ตามความจำเป็น
รักษาในสถานพยาบาลของเอกชน
ผู้ป่วยนอก เบิกเท่าที่จ่ายจริงไม่เกิน 1,000 บาท
ผู้ป่วยใน
ค่ารักษาพยาบาล เบิกได้ไม่เกินวันละ 2,000 บาท กรณีไม่ไดอยู่ห้อง ICU
ค่าห้อง อาหาร เบิกได้ไม่เกินวันละ 700 บาท
ค่าห้อง ค่าอาหาร ค่ารักษาพยาบาล กรณีอยู่ในห้อง ICU เบิกได้ไม่เกินวันละ 4,500 บาท
ผ่าตัดใหญ่ เบิกได้ไม่เกินครั้งละ 8,000-16,000 บาท
ค่าพักคืนชีพรวมค่ายาและอุปกรณ์ เบิกได้ไม่เกิน 4,000 บาท
ค่าตรวจห้องปฎิบัติการ ห้องเอกซเรย์ เบิกได้ไม่เกินรายละ 1,000 บาท
การตรวจคลื่นวงจรไฟฟ้าหัวใจ ตรวจหัวใจด้วยเครืองเสียงสะท้อง อัลตราซาวด์ ตรวจคลื่นสมอง เบิกได้ตามรายการและอัตราที่กำหนด
ปัญหาระบบสุขภาพในประเทศไทย
อัตราการคืนทุนต่ำในบัตรสุขภาพ ( low cost recovery)
ผู้ป่วยเลือกซื้อบัตรสุขภาพเป็นส่วนใหญ่ (adverse selection)
การให้บริการน้อยกว่าที่ควรในประกันสังคม (เอกชน)
ค่าใช้จ่ายของสวัสดิการข้าราชการสูงมาก
ความไม่เท่าเทียมของบริการและค่าใช้จ่ายระหว่างระบบ
การเลือกและการใช้สิทธิกับผู้มีรายได้น้อย
การจ่ายเงินให้สถานบริการ (Payment of provider)
จ่างเงินล่วงหน้าตามข้อตกลง (Prospective payment)
จ่ายเงินแบบผสม (Mixed payment)
จ่ายย้อนหลังตามบริการ (Retrospective relmbursement)
Moral hazard Adverse seletion
1). ปัญหา moral hazard อธิบายง่ายๆ คือ หลังจากผู้เอาประกันทำสัญญาประกันแล้ว มีพฤติกรรมเปลี่ยนไป เพราะเกิดความรู้ว่า " ฉันจะทำอะไรก็ได้ เดี๋ยวประกันมาจ่าย และ " ฉันต้องใช้ประกันให้คุ้ม เพราะจ่ายเงินค่าเบี้ยประกันไแตั้งเยอะแล้ว"
2). ปัญหา Adverse seletion กลุ่มหนึ่งมีความเสี่ยงสูง อีกกลุ่มหนึ่งมีความเสี่ยงต่ำ และผู้เอาประกันทั้งสองกลุ่มต่างรู้ดีแก่ใจว่าตนอยู่ในกลุ่มความเสี่ยงสูงหรือกลุ่มควาเสี่ยงต่ำ แต่บริษัทประกันไม่สามารถประเมินความแตกต่างจากการดูอย่างผิวเผินได้ จึงไ่สาารถแยกแยะว่าผู้เอาประกันมีควาเสี่ยงสูงหรือต่ำที่จะเจ็บป่วย ทุพพลภาพ หรือเสียชีวิต
แนวคิดทางการเงินการคลังในระบบสุขภาพ
คือ เป็นกระบวนการสนัยสนุนด้านการเงินให้กับสถานบริการสาธารณะสุข (Process of funding health service) เพื่อใช้ตามพันธกิจหลักและพันธกิจรอง โดยมีเป้าหมาย คือ สถานะสุขภาพของประชาชนดีขึ้นสูงสุด (Maximise health) อย่างถ้วนหน้า
ความไม่สมมาตรของข้อมูล (Asymmetric Information)
คือ กรณีที่มีความไม่สมบูรณ์ของข้อมูล กล่าวคือ ข้อมูลที่ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในตลาดแต่ละฝ่ามีนั้นไม่เท่ากัน
ผู้ขายอาจจะมีข้อมุลเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์มากกว่าผู้ซื้อ จึงทำให้เกิดความล้มเหลวของการตลาด