Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
PROMที่ส่งผลทำให้เกิดProlapsed Cord - Coggle Diagram
PROMที่ส่งผลทำให้เกิดProlapsed Cord
ควายหมาย
ภาวะน้ำคร่ำแตกก่อนเจ็บครรภ์ (Premature ofmembrane: PROM) หมายถึงภาวะที่ถุงน้ำคร่ำแตกก่อนการเจ็บครรภ์พบได้ทั้งในอายุครรภ์ครบกำหนดคือถุงน้ำคร่ำแตกเมื่ออายุครรภ์ 37 สัปดาห์ (term PROM) หรือในครรภก่อนกำหนดคืออายุครรภ์ <37 สัปดาห์ (preterm PROM: PPROM)
สำหรับ Prolonged ROM หมายถึงภาวะถุงน้ำคร่ำแตกที่มี latency period คือระยะเวลาตั้งแต่ถุงน้ำคร่ำแตกจนถึงเริ่มเจ็บครรภ์คลอดนานเกิน 24 ชั่วโมง แต่ปัจจุบันพิจารณาจากระยะเวลาที่ถุงน้ำคร่ำแตกนานกว่า 18-24 ชั่วโมงโดยมีหรือไม่มีอาการเจ็บครรภ์ก็ได้
การรักษา
1 ยืนยันการแตกของถุงน้ำคร่าว่ามีการแตกจริงจากการซักประวัติการตรวจร่างกายหรือการตรวจทางห้องปฏิบัติการต่าง ๆ
หากพบภาวะรกลอกตัวก่อนกำหนดหรือทารกมีภาวะคับขันจากภาวะสายสะดือถูกกดดูแลให้คลอดอย่างรีบด่วนโดยไม่คำนึงถึงอายุครรภ์
ประเมินอายุครรภ์ที่แน่นอนและหากทารกไม่มีภาวะแทรกซ้อนรีบด่วนให้พิจารณารูปแบบ
สาเหตุ
การติดเชื้อเรื่องของระบบทางเดินปัสสาวะที่ให้มดลุกมีการหดรัดตัวเพิ่มขึ้น
การตั้งครรภ์แฝด (multifetal gestation) ครรภ์แฝดน้ำที่ให้มดลูกถูกยึดขยายภายในโพรงมดลูกเพิ่มขึ้น
การติดเชื้อในระบบอวัยวะสืบพันธ์ส่วนล่างการติดเชื้อโรคทางเพศสัมพันธ์
6.ความผิดปกติของปากมดลูกเช่นปากมดลูกปัดไม่สนิท
การอักเสบติดเชื้อในถุงน้ำคร่ำ (chorioamnionitis)
การทำหัตถการบางอย่างเช่นการเจาะถุงนาคร่า (amniocentesis) การ Cervical CerCalge การเจาะตรวจเนื้อรก
ประวัติเคยเกิดภาวะ PPROM มีความเสี่ยงสูงถึง 3เท่าที่จะเกิดซ้ำอีก
ภาวะรกเกาะตำ (placenta previa) รกลอกตัวก่อนกำหนด (abruption placenta)
ทารกในครรภ์อยู่ในท่าผิดปกติเช่นท่ากันท่าขวางที่ให้ส่วนน่าปัดส่วนล่างของเข็งกรานไม่สนิทตี้แรงดันในโพรงมติลูกจะตันมาที่ถุงนาตราโดยตรงที่ให้ถุงน้ำคร่ำแตกได้ง่าย
ปัจจัยส่วนบุคคลของหญิงมีครรภ์เช่นการสูบบุหรีเศรษฐานะต่าภาวะทุพโภชนาการมีอาการขาดวิตามินซีเป็นโรคของเยื่อเกี่ยวพัน (SLE) ได้รับยาสเตอร์รอยด์เป็นเวลานานเป็นต้น
เคยมีประวัติคลอดก่อนกาหนดในครรภ์ก่อนหรือมีประวัติ PPROM ในครรภ์ก่อนจะเพิ่มความเสี่ยงของการเกิดซํ้าได้สูง
อาการเเละอาการเเสดง
สตรีตั้งครรภ์รู้สึกมีนํ้าใสๆหรือนํ้าใสเหลืองจางๆไหลออกจากช่องคลอดทันทีจนเปียกผ้านุ่งโดยไม่มีอาการเจ็บครรภ์หรือก่อนที่จะมีอาการเจ็บครรภ์เเต่บางรายอาจไหลซึมเล็กน้อยตลอดเวลาหรือไหลเเล้วหยุดไป
ภาวะเเทรกซ้อน
ภาวะสายสะดือพลัดตํ่า(Prolapsed cord)โดยเฉพาะเมื่อทารกมีอายุ ครรรภ์น้อยเเละส่วนนำยังไม่เข้ามาสู่ช่องเชิงกรานสายสะดือจึงมีโอกาสพลัดดํ่า
ชนิดของสายสะดือย้อยจำแนกได้เป็น 3 ชนิดคือ
2.Forelying cord หรือ Funic presentation
3.Occult prolapsed cord สายสะดือย้อยลงมาต่ำกว่าปกติ อยู่ข้าง ๆ ส่วนนำของทารกในครรภ์ สายสะดือส่วนนี้จะถูกกดกับช่องทางคลอดได้เมื่อทารกเคลื่อนต่ำลง หรือมดลูกหดรัดตัว ถุงน้ำคร่ำอาจจะแตกหรือไม่แตกก็ได้
1.Overt prolapsed cord เกิดในรายที่ถุงน้ำคร่ำแตกแล้ว พบว่าสายสะดือย้อยลงมาต่ำกว่าส่วนนำของทารกในครรภ์ พ้นจากปากมดลูกมาอยู่ในช่องคลอด หรือโผล่พ้นปากช่องคลอด
การวินิจฉัย
2.เห็นสายสะดือโผล่พ้นช่องคลอดออกมา
3.FHS ผิดปกติ Fetal monitoring พบ FHSเเบบVariable decelaration เเละBradycardiaเเล้วเเต่ความรุนเเรงของการถูกกด
1.PV คลำพบสายสะดือ อาจได้ชีพจรเต้นเป็นจังหวะ
สาหตุ
2.สายสะดือยาวกว่าปกติ
3.รกเกาะตํ่า ทำให้สายสะดืออยู้ใกล้กับปากมดลูก
1.ส่วนนำไม่กระชับกับส่วนล่างของหนทางคลอด ในรายที่ทารกอยู่ในท่าผิดปกติ ครรภ์เเฝดถุงนำ้ทูลหัวเเตกก่อนกำหนด ทารกตัวเล็ก นำ้หล่อลื่นมากกว่าปกติ เชิงกรานเเคบ
4.ศรีษะทารกอยู่สูง เมื่อถุงนํ้าทูลหัวเเตกหรือเจาะถุงนํ้าครํ่าทูลหัว
5.การทำสูติศาสตร์หัตถการ เช่นการหมุนกลับท่าของทารกภายใน
การรักษา
1.ช่วยเหลือเเบบฉุกเฉิน
-จัดท่ามารดาไม่ให้ส่วนนำลงมากดสายสะดือ
โดยใช้หมอนรองก้นให้สูงขึ้นนอนควํ่า+ยกก้นสูง Trendelenburg position/Knee-chest position/Sim
-สอดมือเข้าช่องคลอดดันส่วนนำไม่ให้ลงมากดสายสะดือ(ห้ามดันสายสะดือกลับ)**กรณีสายสะดือย้อยอยู่ในช่องคลอดซึ่งอุ่นเเละไม่เเห้งทำให้ลด Vasospasmไม่ควรดันกลับเข้าโพรงมดลูก
-ให้ออกซิเจนอย่างเพียงพอ
-ทำให้กระเพาะปัสสาวะโป่งตึงโดยการใส่ NSS 500-700 ml.ทางสายสวนปัสสาวะ
2.การคลอด
-C/S ดีที่สุดยกเว้นในรายที่ทารกตายหรือพิการเเต่กำเนิด
ช่วยคลอดท่าก้นในรายที่ปากมดลูกเปิดหมดไม่มีภาวะ CPD
F/E กรณีปากมดลูกเปิดหมด ส่วนนำลงมาตํ่ามา ไม่มีภาวะCPD
ในรายที่ทารกเสียชีวิตให้NL ยกเว้นในรายที่ CPD อาจต้องทำสูติศาสตร์หัตถการทำลายเด็กหรือC/S