Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Condyloma acuminata in pregnancy, นางสาวหทัยภัทร เกียรตินอก รหัสนักศึกษา…
Condyloma acuminata in pregnancy
สาเหตุ
จากแม่สู่ลูก พบในกรณีที่คลอดทางช่องคลอด
มีเพศสัมพันธ์ตั้งแต่อายุยังน้อย
สัมผัสหรือเกา แล้วไปสัมผัสบริเวณอื่น
การเปลี่ยนคู่นอนหลายคน
อาการและอาการแสดง
ติ่งเนื้อแหลมเล็กสีชมพูหลายอันยื่นขึ้นจากผิว กระจัดกระจายอยู่หลายแห่ง และอาจรวมกันเป็นก้อนใหญ่คล้ายดอกกระหล่ำ หรือหงอนไก่ พบบ่อยที่บริเวณปากช่องคลอด ช่องคลอด
อาการคันหรือไม่มีอาการ
เป็นมากก้อนเนื้อหูดจะใหญ่ขึ้นและมีจำนวนเพิ่มมากขึ้น
รอยโรคเป็นมากขึ้น
รอยโรคเป็นอยู่เท่าเดิม
รอยโรคหายไปได้เอง
ความหมาย
หูดชนิดหนึ่งเกิดขึ้นที่ เยื่อบุหรือผิวหนังบริเวณอวัยวะเพศ ฝีเย็บและมวารหนัก เกิดจาก human pappilloma viruses (HPVs) type 6 และ 11
Human papilloma virus (HPV) type 6,11 เสี่ยงต่อการเป็นมะเร็งปากมดลูกต่ำ
Human papilloma virus (HPV) type 16,18 มีความเสี่ยงสูงที่จะเป็นมะเร็งปากมดลูก
ระยะฟักตัว 1-2 เดือน (เฉลี่ย 2-4 เดือน)
ปัจจัยที่ส่งผลให้หูดหงอนไก่โตเร็วขึ้น
การอักเสบติดเชื้อในช่องคลอด
ความสกปรก
การตั้งครรภ์
ยาเม็ดคุมกำเนิด
ภาวะที่ภูมิคุ้มกันผิดปกติ
ผลกระทบ
มารดา
2.การอักเสบติดเชื้อบริเวณปากช่องคลอด (Vulvovaginitis) มีตกขาวกลิ่นเหม็น คันระคายเคืองและปวด และอาจก่อให้เกิด chorioamnionitis อาจทำให้ลุกลามเข้าสู่กระแสเลือดได้
3.มะเร็งปากช่องคลอด ช่องคลอดและปากมดลูก (squamous cell carcinoma of vulva,vagina and cervix)อาจจะเกิดตามหลังจากหูดหงอนไก่ไม่นาน
1.ขนาดที่โตขึ้นและจำนวนมากขึ้น โดยเฉพาะไตรมาสที่ 3 เนื่องจากมีเลือดมาเลี้ยงบริเวณช่องคลอดมาก อาจขัดขวางช่องทางคลอด (mechanical dystocia)และอาจทำให้ตกเลือดรุนแรง แผลฝีเย็บอาจแยก เนื่องจากหูดมีลักษณะยุ่ยไม่สามารถห้ามเลือดได้
ทารก
2.หูดหงอนไก่บริเวณอวัยวะเพศ อาจเป็นตั้งแต่แรกเกิด ในวัยทารกหรือเด็กแต่พบได้น้อย
3.หูดหงอนไก่ในกล่องเสียง (laryngeal papilloma) ทำให้เสียงแหบหรือหายใจติดขัด
1.อักเสบติดเชื้อขณะเจ็บครรภ์ (Intrapartum fetal infections) เกิดหลังจากการแตกรั่วของถุงน้ำคร่ำ และเกิด chorioamnionitis ตามมา เกิดจากแบคทีเรียในช่องคลอดและทวารหนัก
4.มะเร็งปากช่องคลอดแต่กำเนิด อาจพบได้น้อย
ตำแหน่ง
ตามเนื้อเยื่อของร่างกายที่สามารถสร้างเนื้อเยื่อเมือก (mucosa) ได้ หูดชนิดนี้จึงมักขึ้นในบริเวณที่อับชื้นและอุ่น โดยเฉพาะบริเวณอวัยวะเพศ
การตรวจพิเศษ
PAP SMEAR
Aceto white
ตัดชิ้นเนื้อส่งตรวจทางพยาธิวิทยา
การรักษาควรรักษาให้หายก่อนไตรมาสที่ 3 เพื่อหลีกเลี่ยงภาวะแทรกซ้อนในระยะคลอด
ยาเฉพาะที่
80-90% Trichloroacetic acid (TCA) ทำให้รอยโรคแห้งแข็งทันทีจึงไม่มีการดูดซึมเข้าสู่กระแสเลือด ไม่ทำให้เนื้อเยื่อข้างเคียงเกิดการอักเสบ ทาสัปดาห์ละครั้ง นานประมาณ 6 สัปดาห์
ศัลยกรรม
2.การจี้ด้วยไฟฟ้า ใช้ในรอยโรคขนาดเล็ก ข้อเสียปากช่องคลอดบวมและอาจเสียเลือดมาก
3.การจี้ด้วยความเย็น ใช้ในรอยโรคขนาดเล็ก แต่อาจเกิดซ้ำได้เพราะตวามเย็นไม่สามารถฆ่าเชื้อไวรัสได้
1.การตัดรอยโรคออก ใช้ในรายที่รอยโรคมีขั้วชัดเจน หากขนาดใหญ่ไม่ใครใช้เพราะเสียเลือดมากและทำให้มีรอยแผลขนาดใหญ่
4.การรักษาด้วยเลเซอร์ ใช้ได้ดีกับรอยโรคขนาดใหญ่และได้ผลดีกับหญิงตั้งครรภ์เนื่องจากสียเลือดน้อยมีความแม่นยำในการทำลายรอยโรค ควบคุมความลึกได้ แผลหายเร็ว แต่อาจมีราคาแพง
การวินิจฉัย
การตรวจร่างกาย
พบรอยหูดหงอนไก่
พบหูดเป็นติ่งเนื้อสีชมพูคล้ายหงอนไก่
การซักประวัติ
เคยเป็นหูดหงอนไก่มาก่อน
การมีเพศสัมพันธ์
การเลือกวิธีกาารคลอด ขึ้นอยู่กับขนาด ตำแหน่ง และจำนวนของหูดหงอนไก่ ในปัจจุบันจะ C/S เฉพาะในรายที่มีรอยโรคขนาดใหญ่ขัดขวางการคลอด หรือในรายที่การคลอดทางช่องคลอดอาจทำให้เกิดการตกเลือดอย่างรุนแรง แผลฝีเย็บแยกหรือเกิด Fistula ระหว่างช่องคลอดกับทวารหนัก (rectovaginal fistula)
การวินิจฉัยแยกโรค
3.Granuloma inguinale ย้อมชิ้นเนื้อที่ตัดด้วย Wright's และ Giemsa's stain จะพบ Donovan bodies
4.เนื้องอกชนิดธรรมดาของระบบสืบพันธุ์ เช่น vulvar adenomas,endometriomas,fibromas และ lipomas
2.หูดข้าวสุก (Molluscum contagiosum) ตุ่มแข็งเล็กสีขาว ตรงกลางบุ่ม ถ้าใช้ปลายเข็มสะกิดจะมีเนื้อหูดสีขาวคล้ายข้าวสุก
5.มะเร็งปากช่องคลอด ช่องคลอดหรือปากมดลูก
1.Condyloma latum รอยโรคพบได้ในระยะที่ 2 ของซิฟิลิส โดยจะตรวจพบเชื้อ Treponema pallidum ตรวจ VDRL และ FTA-ABS ซึ่งจะได้ผล positive เกือบทุกราย
ตรวจการติดเชื้ออื่นเพิ่ม
HIV
หนองในแท้,หนองในเทียม
Syphilis
การดูแล
ระยะคลอด
ถ้าหูดหงอนไก่มีขนาดใหญ่เมื่อเข้าสู่ระยะคลอด ให้ C/S เพื่อหลีกเลี่ยงการตกเลือดและการคลอดติดขัด
ถ้าหูดหงอนไก่ยังมีขนาดเล็กอยู่ ไม่ขัดขวางหนทางคลอด ให้คลอดทางช่องคลอดได้ เพราะโอกาสเสี่ยงต่อการติดเชื้อในทารกแรกเกิดมีน้อยมาก
ระยะหลังคลอด
เน้นการดูแลความสะอาดของอวัยวะสืบพันธู์ภายนอกให้มาก เนื่องจากหลังคลอดจะมีน้ำคาวปลาไหล ทำให้มีความอับชื้นมากขึ้น โอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคมากขึ้น
สามารถให้นมบุตรได้ เน้นความสะอาดของมือก่อนให้นมบุตรทุกครั้ง
ดูแลมารดาหลังคลอดเหมือนมารดาทั่วไป V/S ทุก 15 นาที 4 ครั้ง และ 30 นาที 2 ครั้ง จนอาการคงที่พร้อมทั้งประเมินแผลฝีเย็บ เต้านมลานม การหดตัวของมดลูก การปัสสาวะของมารดาหลังคลอด
แนะนำให้มารดาหลังคลอดติดตามดูแลรอยโรคเป็นระยะเวลายาว โดยทำการมะเร็งปากมดลูก
ระยะตั้งครรภ์
แนะนำให้สตรีตั้งครรภ์รับการรักษาอย่างสม่ำเสมอเพื่อให้รอยโรคหายก่อนคลอด
รักษาความสะอาดของอวัยวะสืบพันธ์ุภายนอกให้สะอาดและแห้งเสมอ ชุดชั้นในต้องซักให้สะอาดและตากแกกให้แห้ง
อธิบายให้สตรรตั้งครรภ์และสามีเข้าใจสาเหตุของการเกิดรอยโรค การดูแลรักษาตลอดจนการป้องกันการสัมผัสโรคในขณะมีเพศสัมพันธ์โดยการใช้ถุงยางอนามัยทุกครั้ง
แนะนำการปฏิบัติตัวเพื่อให้มีระบบภูมิต้านทานของร่างกายที่ดี
การพยาบาล
เฝ้าระวังอันตรายจากการตกเลือดหลังคลอด ในรายที่คลอดทางช่องคลอด
อธิบายเกี่ยวกับการป้องกันการติดเชื้อซ้ำ
ขณะคลอดควรดู Progress of labor
แนะนำ Perineum care
ผลต่อมารดา
Obstructed labor ถูกขัดขวางการคลอด
Postpartum hemorrhage
Secondary infection อาจติดเชื้อเพิ่ม
นางสาวหทัยภัทร เกียรตินอก
รหัสนักศึกษา 614991043 หมู่เรียน 61/99