Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 6 การประเมินพัฒนาการทั้ง ๔ ด้านของเด็กปฐมวัย, นางสาวชยานันท์ …
บทที่ 6
การประเมินพัฒนาการทั้ง ๔ ด้านของเด็กปฐมวัย
การส่งเสริมพัฒนาการปฐมวัยทางด้านอารมณ์ของเด็ก
การฟังนิทาน ช่วยให้เด็กมีความเพลิดเพลิน เกิด
ความสุข เกิดจินตนาการ นิทานช่วยผ่อนคลาย
ให้ความรักและความอบอุ่น เอาใจใส่ต่อ
เด็ก เข้าใจเด็ก ยอมรับในตัวเด็ก
เป็นแบบอย่างที่ดี เด็กดี เก่ง น่ารัก สร้างได้
จากการเป็นต้นแบบที่ดีของพ่อแม่
เสริมสร้างความภาคภูมิใจในตัวเอง โดยค้นหาจุดเด่น สังเกตว่าลูกมีความสุขในการทำกิจกรรมใดและสนับสนุนให้ทำกิจกรรมนั้นให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น
ตอบสนองต่อพฤติกรรมที่ถูกต้อง การตอบสนอต่อพฤติกรรมที่ดีของลูก จะทำให้ลูกรับรู้ว่า การกระทำนั้นๆ เป็นสิ่งที่ดีและควรทำต่อไป
เลี้ยงลูกให้ถูกเพศ เริ่มจากสัมพันธภาพที่ดีระหว่างพ่อ
แม่ และแสดงบทบาทที่เหมาะสมของพ่อแม่ที่มีต่อกัน
การเล่น ทำให้เด็กได้รับความสนุกสนานการเล่นมีคุณค่ามากในแง่ของการบำบัดเพราะการเล่นช่วยให้เด็กสามารถลดความไม่พึงพอใจ ลดความวิตกกังวล
ครื่องมือที่ใช้วัดและประเมินพัฒนาการด้านกล้ามเนื้อเล็ก
การใช้แบบทดสอบ
การลากเส้นตามรอย
การสังเกตและการจดบันทึก
การวางแผน
สุขภาพจิต
ดูแลให้เด็กได้รับสารอาหารครบถ้วน
และมีประโยชน์
สัมผัส กอดและพูดคุยกับเด็กด้วยความ
รักและความเอาใจใส่
จัดประสบการณ์ สิ่งแวดล้อมที่
ส่งเสริมการเรียนรู้
ลดหรือไม่สร้างความเครียดให้กับเด็ก
กิจกรรมที่ส่งเสริมพัฒนาการทางด้านอารมณ์ – จิตใจ
กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์
กิจกรรมเล่นตามมุม
กิจกรรมกลางแจ้ง
กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ
การประเมินพัฒนาการด้านอารมณ์จิตใจของเด็กปฐมวัย
ลักษณะพัฒนาการทางด้านอารมณ์ของเด็กปฐมวัย
การแสดงออกทางอารมณ์ของเด็กปฐมวัยนั้นรุนแรง
กว่าวัยทารก ระดับความรุนแรงทางอารมณ์ของเด็ก
แต่ละคนมีไม่เหมือนกันขึ้นอยู่กับองค์ประกอบต่าง ๆ
เช่น สุขภาพ สิ่งแวดล้อม การอบรมเลี้ยงดู
อารมณ์รัก ครั้งและเด็กจะรักตนเองก่อน ต่อมาจะรู้จักการรักคนอื่น อารมณ์นี้เป็นอารมณ์แห่งความสุข เด็กจะแสดงความรักโดยการกอดจูบลูบคลำ เด็กที่ไม่ได้รับความรักความอบอุ่นจากครอบครัว
อารมณ์กลัว กลัวในสิ่งที่จะมีเหตุผล
มากกว่าวัยทารก สิ่งเร้าที่ทำให้เด็กกลัวมี
มากขึ้น เช่น กลัวเสียงดัง คนแปลกหน้า
อารมณ์สนุกสนาน เมื่อเด็กประสบความสำเร็จในสิ่งต่างๆที่ได้กระทำ เด็กจะเกิดความสนุกสนานซึ่งแสดงออกด้วยรอยยิ้มและเสียงหัวเราะ
อารมณ์อยากรู้อยากเห็น เป็นวัยที่เริ่มรู้จักการใช้เหตุผลมีความเป็นตัวของตัวเองมีความสงสัยในสิ่งที่ไม่เคยเห็น
อารมณ์อิจฉา อารมณ์อิจฉาเป็นอารมณ์ที่เกิดขึ้นเมื่อเด็กมีความรู้สึกว่าตนเองด้อยกว่าผู้อื่นหรือ กำลังสูญเสียของที่เป็นของตนไป จะเกิดขึ้นในเด็กอายุ 2-5 ปี
อารมณ์โกรธ จะเริ่มเมื่อเด็กอายุได้ 6 เดือน
เด็กมักโกรธเมื่อถูก ขัดใจ ถูกรังแก
พัฒนาการเด็ก ด้านอารมณ์ - จิตใจ พัฒนาการทาง
อารมณ์ หมายถึง ขบวนการวิวัฒนาการของจิตที่
สามารถรับผิดชอบควบคุม ขัดเกลา และแสดงออกซึ่งอารมณ์ให้เหมาะสมกับกาลเวลาและสถานที่
หลักในการส่งเสริม
พัฒนาการด้านร่างกาย
กิจกรรมการเล่น คือกิจกรรมที่สอดคล้องกับ
ธรรมชาติของเด็ก ที่สามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเอ
กิจกรรมการออกกำลังกาย คือ กิจกรรม
นันทนาการต่าง ๆ ที่เล่นได้ทั้งกลางแจ้งและใน
ร่ม รวมถึงกิจกรรม การเล่นกีฬา
กิจกรรมการเข้าจังหวะ คือกิจกรรมที่มีการเคลื่อนไหวส่วนต่าง ๆ ของร่างกายตามจังหวะสียงเพลง เสียงดนตรี โดยมีอารมณ์และความรู้สึกร่วมกับการเคลื่อนไหวนั้น ๆ
กิจกรรมศิลปะและกิจกรรมการสร้างสรรค์ คือกิจกรรมที่ส่งเสริมการแสดงออกทางความคิด ที่เด็กได้สำรวจและจัดทำกับวัตถุโดยตรง เด็กสามารถออกแบบ ตกแต่ง กับชิ้นงานได้อย่างอิสระ
การทำงานของกล้ามเนื้อเล็ก
ความสามารถของการทำงานที่ประสานกัน
ระหว่างประสาทและกล้ามเนื้อ ร่างกายจะเเสดงพฤติกรรมการเคลื่อนไหวได้ดีเพียงใดขึ้นอยู่กับ
การทำงานที่ประสานสัมพันธ์ของระบบประสาท
พัฒนาการทาง
สุขภาพ
การออกกำลังกาย คือ ให้เด็กสนุกกับ
กิจกรรมทางกายเหมือนเป็นการเล่น
รับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่และเหมาะสมกับวัย เด็กวัย
อนุบาลถึง 16 ปี มีการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วทั้งร่างกายและสมอง โดยเฉพาะพัฒนาการทางสมองในช่วง 3 ขวบปีแรก
พักผ่อนให้เพียงพอ ระยะเวลาในการนอนหลับพักผ่อนของแต่ละ
วัย มีความแตกต่างกัน
• 3 เดือนแรก: ควรนอน 14 - 17 ชั่วโมงต่อวัน
• 4 เดือน - 1 ปี: ควรนอน 12 - 15 ชั่วโมงต่อวัน
• 1 - 2 ปี: ควรนอน 11 - 14 ชั่วโมงต่อวัน (เช้าและบ่าย)
การตรวจสุขภาพร่างกาย เด็กช่วง 1-10 ปี เป็นการ
ตรวจเพื่อเฝ้าระวังพัฒนาการอย่างเป็นระยะเพื่อป้องกันความเสี่ยงของโรคในอนาคต
นางสาวชยานันท์ สายทอง ปฐมวัย 17