Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
อาชีวอนามัยและความปลอดภัย - Coggle Diagram
อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
ลักษณะงานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
1.การส่งเสริมและดํารงไว้ (promotion and maintenance) หมายถึงการส่งเสริมและรักษาซึงสุขภาพร่างกายและจิตใจที่สมบูรณ์แข็งแรงของผู้ประกอบอาชีพ
2.การป้องกัน (prevention) หมายถึงการป้องกันไม่ให้ผู้ประกอบอาชีพหรือแรงงานมีสุขภาพอนามัยเสื่อมโทรม
3.การจัดการทํางาน (placing) หมายถึงการจัดการกับสิ่งแวดล้อมของการทำงานให้มีความเหมาะสม
4.การปรับงานให้มีความเหมาะสมกับคน (adaptation) หมายถึง การมอบหมายงานให้เหมาะสมกับคนและการปรับคนให้เหมาะกับสภาพการทำงาน
ความสัมพันธ์ระหว่างคนทํางานกับสิ่งแลดล้อม
ภาวะคุกคามจากสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ
อุณหภูมิ (temperature)ความร้อน และ ความเย็น
แสง (Light) ความยาวคลื่นแสงประมาณ 380-780 นาโนเมตรซึ่งเป็นระยะความยาวคลื่นที่มองเห็นได้
เสียง(Noise)ระดับเสียงที่ปลอดภัยประมาณ 75 เดซิเบล
ความดันบรรยากาศ
ได้แก่ความดันอากาศสูงและความดันอากาศต่ำ
ความสั่นสะเทือน คือการทำงานที่เกี่ยวข้องกับการจับเครื่องกลหรือเครื่องมือที่มีการสั่นสะเทือน
รังสี(Radiation) 1.รังสีชนิดแตกตัวเป็นไอออน เช่น รังสีอลฟา รังสีเบต้า
2.รังสีชนิดไม่แตกตัวเป็นอออน เช่น คลื่นไมโคเวฟ
ภาวะคุกคามจากสิ่งแวดล้อมทางเคมี
การจําแนกปัจจัยทางด้านเคมี
ฝุ่น ไอโลหะ ละออง เส้นใย ควัน แก๊ส และไอระเหย
ภาวะคุกคามจากสิ่งแวดล้อมทางชีวภาพ
จุลินทรีย์ต่างๆ เช่น เชื้อรา เชื้อแบคทีเรีย เชื้อไวรัส
ภาวะคุกคามจากสิ่งแวดล้อมทางจิตวิทยาสังคม
สิ่งแวดล้อมในการทำงานที่ก่อให้เกิดสภาวะเครียด เนื่องมาจากจิตใจหรืออารมณ์ที่ได้รับความบีบคั้น กดดัน เช่น สภาพเศรษฐกิจที่ไม่น่าพอใจ
ภาวะคุกคามจากสิ่งแวดล้อมทางการยศาสตร์
วิทยาการที่ว่าด้วยความสัมพันธ์ระหว่างคนกับสิ่งแวดล้อมการทำงาน ซึ่งประกอบด้วยแนวคิดทางด้านกายวิภาคและสรีรวิทยา เช่น การเจ็บป่วยจากการเคลื่อนย้ายของหนัก
ขั้นตอนการประเมินความเสี่ยงทางด้านสุขภาพ
ขั้นตอนที่ 1 การระบุ/การประเมินสิ่งคุกคาม
เป็นการรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อหาคำตอบว่าสิ่งคุกคามนั้นคืออะไรมีผลเสียต่อสุขภาพอย่างไร
ขั้นตอนที่ 2 การประเมินขนาดสัมผัสกับการตอบสนอง
เป็นการประเมินจำนวนของผู้ที่ได้รับผลกระทบจากสิ่งคุกคามที่เกิด
ขั้นตอนที่ 3 การประเมินการรับสัมผัส
สารเคมีกรือคุกคามใดที่ผู้สัมผัสได้รับ ขนาด ปริมาณ
ขั้นตอนที่ 4 การอธิบายลักษณะความเสี่ยง
เป็นการอธิบายถึงลักษณะของความเสี่ยงโดยบอกขนาด ปริมาณหรือสิ่งคุกคามนั้นมีโอกาสก่อห้เกิดผลกระทบต่อสุขภาพมากน้อยอย่างไร