Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
นวัตกรรมหรือเทคโนนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ยุคดิจิทัล - Coggle Diagram
นวัตกรรมหรือเทคโนนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ยุคดิจิทัล
ทฤษฎีและหลักการเลือกสื่อการเรียนการสอน
แนวคิดการเลือกสื่อการสอนของโรมิสซอว์สกี้
ลักษณะของผู้เรียน (Learner Characteristics)
ผู้เรียนกลุ่มที่มีการเรียนรู้ได้ช้า ควรใช้สื่อเป็นสื่อการเรียนการสอน
ข้อจำกัดในทางปฏิบัติ (Practical Constrain)
ข้อจำกัดในทางปฏิบัติในที่นี้หมายถึง ข้อจำกัดทั้งทางด้านการจัดการ และทางด้านเศรษฐศาสตร์ ซึ่งเป็นปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อทางเลือกในการเลือกใช้วิธีการสอนและสื่อการสอน
งานการเรียนรู้ (Learning Task)
สิ่งนี้จะเป็นสิ่งที่จำกัดหรือควบคุมการเลือกวิธีการสอน
ผู้สอนหรือครู (Teacher)
ผู้สอนต้องมีทักษะและทัศนคติที่ดีในการใช้สื่อ
วิธีการสอน (Instructional Method)
การเลือกวิธีการสอนเป็นปัจจัยแรกที่ควบคุมการเลือกสื่อ
แนวคิดการเลือกสื่อการสอนของเคมพ์และสเมลไล
หลักการเลือกสื่อ
เลือกสื่อการสอนให้เหมาะสมกับลักษณะของผู้เรียน
เลือกสื่อการสอนให้เหมาะสมกับจำนวนของผู้เรียน และกิจกรรมการเรียนการสอน
เลือกสื่อการสอนที่ตรงกับลักษณะของเนื้อหาของบทเรียน
เลือกสื่อการสอนที่เหมาะสมกับสภาพแวดล้อม
เลือกสื่อการสอนที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์การเรียนรู้
เลือกสื่อการสอนที่มีลักษณะน่าสนใจและดึงดูดความสนใจ
เลือกสื่อการสอนที่มีวิธีการใช้งาน เก็บรักษา และบำรุงรักษา ได้สะดวก
คุณลักษณะของสื่อที่สำคัญ
4.ปัจจัยทางด้านการเคลื่อนไหว (เช่น ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว)
5..ปัจจัยทางด้านภาษา (เช่น ข้อความ/ตัวอักษร เสียงพูด)
3.ปัจจัยทางด้านสี (เช่น สีสันต่างๆ ขาว-ดำ )
6.ความสัมพันธ์ของภาพและเสียง (เช่น ภาพที่มี/ไม่มีเสียงประกอบ)
2.ปัจจัยทางด้านขนาด (เช่น การใช้/ไม่ใช้เครื่องฉายเพื่อขยายขนาด)
7.ปัจจัยทางด้านการจัดระเบียบข้อมูล
1.การแสดงแทนด้วยภาพ (เช่น ภาพถ่าย ภาพกราฟิก)
หลักการใช้สื่อการสอน
เตรียมตัวผู้เรียน
การใช้สื่อให้เหมาะกับขั้นตอนและวิธีการตามที่ได้เตรียมไว้แล้ว
เตรียมจัดสภาพแวดล้อม
การติดตามผล ( Follow Up )
เตรียมตัวผู้สอน ทำความเข้าใจในเนื่อหาและวิธีการใช้สื่อที่ถูกต้อง
ขั้นตอนการใช้สื่อการสอน
ดำเนินการสอนหรือประกอบกิจกรรมการเรียน
วิเคราะห์และฝึกปฏิบัติ เป็นการเพิ่มพูนประสบการณ์ตรงแก่ผู้เรียน เพื่อให้ผู้เรียนได้ทดลองนำความรู้ที่เรียนมาแล้วไปใช้แก้ปัญหาในขั้นฝึกหัด
นำเข้าสู่บทเรียนเพื่อกระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดความสนใจในเนื้อหาที่กำลังจะเรียนนั้น
สรุปบทเรียน เป็นการย้ำเนื้อหาบทเรียนให้ผู้เรียนมีความเข้าใจที่ถูกต้องและตรงตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
การประเมินผลการใช้สื่อการสอน
2.ประเมินกระบวนการการใช้สื่อเพื่อดูว่าการใช้สื่อในแต่ละขั้นตอนประสบปัญหาหรืออุปสรรคอย่างไรบ้าง
3.ประเมินผลที่ได้จากการใช้สื่อเป็นผลที่เกิดขึ้นกับผู้เรียนโดยตรงว่า เมื่อเรียนแล้วผู้เรียนสามารถบรรลุตามวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรมที่ตั้งไว้หรือไม่
1.ประเมินการวางแผนการใช้สื่อเพื่อดูว่าสิ่งต่างๆ ที่วางไว้สามารถดำเนินไป ตามแผนหรือไม่ หรือเป็นไปเพียงตามหลักการทฤษฎีแต่ไม่สามารถปฏิบัติได้จริง
แนวคิด ทฤษฎี นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
แนวคิดรวบยอดของเทคโนโลยีทางการศึกษา 2 ด้าน คือ
ความคิดรวบยอดทางวิทยาศาสตร์กายภาพ
หมายถึงการประยุกต์วิทยาศาสตร์กายภาพ ในรูปแบบสิ่งประดิษฐ์
ความคิดรวบยอดทางพฤติกรรมศาสตร์
เป็นการนำวิธีทางจิตวิทยา มนุยวิทยา การบริหาร และเครื่องยนต์กลไกมาใช้ควบคู่การผลิตกรรมทางวิทยาสาสตร์และวิศวกรรม เพื่อให้ผู้เรียนเปลี่ยนพฤติกรรมในการเรียนรู้มากยิ่งขึ้น
หลักการและทฤษฎีที่เกี่ยวกับนวัตกรรมและเทคโลโนยีทางการศึกษา
วิธีการเชิงมนุษวิทยา ได้แก่ ครูให้ความสนใจต่อการเจริญเติบโตของผู้เรียนแต่ละคน
วิธีการสอนเชิงระบบ ได้แก่ การจัดการเรียนการสอนโดยอาศัยวิธีระบบ
บทบาทของนวัตรกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
3.เทคโนโลยีการศึกษาทำให้การจัดการศึกษาเป็นระบบและเป็นขั้นตอน
เทคโนโลยีการศึกษาช่วยให้การศึกษามีพลังมากขึ้น
2.เทคโนโลยีการศึกษาสามารถตอบสนองความแตกต่างของผู้เรียน
5.เทคโนโลยีการศึกษาทำให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้อย่างกว้างขวาง
1.เทคโนโลยีการศึกษาทำให้การเรียนการสอนมีความหมายมากขึ้น
6.เทคโนโลยีการศึกษาทำให้เปิดโอกาสทางการศึกษาทั้งในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย
ปัจจัยสำคัญที่มีอิทธิพลอันมีผลทำให้เกิดนวัตกรรม
แนวความคิดพื้นฐานในเรื่องความพร้อม
แนวความคิดพื้นฐานในเรื่องการใช้เวลาเพื่อการศึกษา
แนวความคิดพื้นฐานในเรื่องความแตกต่างระหว่างบุคคล
แนวความคิดพื้นฐานในเรื่องการขยายตัวทางวิชาการและอัตราการเพิ่มประชากร นวัตกรรมที่สนองแนวความคิดพื้นฐาน
หลักการ ทฤษฎี วิธีการ แนวคิด ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา
ทฤษฎีกลุ่มการวางเงื่อนไข
ทฤษฎีความสัมพันธ์ต่อเนื่อง
กฏแห่งการฝึกหัด ( Law of Exercise)
กฏแห่งความพร้อม ( Law of Rediness )
กฏการแห่งผล ( Law of effect )
ทฤษฎีกลุ่มพฤติกรรมนิยม
ทฤษฎีการวางเงื่อนไข/ทฤษฎีการเสริมแรง
การมีส่วนร่วมในการเรียนรุ้ของผู้เรียน ( Interaction )
การได้ทราบผลในการเรียนรู้ทันที ( Feedback )
การเรียนรู้เป็นขั้นตอน ( Step By Step )
การได้รับการเริมแรง ( Reinforcement )
การนำนวัตกรรม และเทคโนโลยีมาใช้ในการศึกาาและใช้ในการเรียนการสอน
ประสิทธิภาพ ( Efficiency ) ผู้เรียนผู้สอนได้เรียนได้สอนอย่างเต็มที่ด้วยความพึงพอใจ
ประหยัด ( Economy ) ใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีมาช่วยในการจัดการเรียนการสอน ทำให้ประหยัดเวลามากขึ้น
ประสิทธิผล ( Productivity ) บรรลุตามจุดประสงค์ที่กำหนด
ประโยชน์ของนวัตกรรมเทคโนโลยีทางการศึกษา
3.ช่วยให้บรรยากาศการเรียนรู้สนุกสนาน
4.ช่วยให้บทเรียนน่าสนใจ
2.ช่วยให้ผุ้เรียนเข้าใจบทเรียนเป็นรูปธรรม
ช่วยลดเวลาในการสอน
1.ช่วยให้ผู้เรียน เรียนรู้ได้ไวขึ้น
6.ช่วยประหยัดค่าใช้จ่าย