Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การใช้ OKRs กับการประกันคุณภาพการศึกษา - Coggle Diagram
การใช้ OKRs กับการประกันคุณภาพการศึกษา
เป้าหมาย
เพื่อการคาดคะเนของแต่ละบุคคลที่เกี่ยวกับผลลัพธ์ที่คาดหวังในอนาคต
เป้าหมายในทางทฤษฎีที่สะท้อนให้เห็นถึงการแสดงออกหรือพฤติกรรมของบุคคลที่นำไปสู่เป้าหมายเป็นผลลัพธ์สุดท้าย
ทฤษฎีการตั้งเป้าหมาย
คิดค้นโดย Gary P.Latham และ Edwin A.Locke ทศวรรษ 1970
พัฒนาขึ้นเพื่อทำนายอิทธิผลของแรงจูงใจส่วนบุคคลที่แสดงออกของพฤติกรรมในการทำงาน
ความหมาย OKRs
OKR : Objective and Key Results คือ เครื่องมือในการตั้งเป้าหมายและกำหนดตัววัดผล
Objectives คือ วัตถุประสงค์หลัก เป็นการบอกจุดมุ่งหมายของหน่วยงาน (ไม่มีตัวเลข)
Key Results คือ ผลลัพธ์หลักเป็นการบอกว่าจะทราบได้อย่างไรว่าเราบรรลุจุดมุ่งหมายนั้น (มีตัวเลข)
กรอบการตั้งเป้าหมาย
SMARTER
S หมายถึง เฉพาะเจาะจง (Specific)
M หมายถึง วัดได้ (Measurable)
A หมายถึง เห็นพ้องร่วมกัน (Agreed Upon)
R หมายถึง เป็นจริงได้ (Realistic)
T หมายถึง มีกำหนดเวลา (Time-Based)
E หมายถึง มีจริยธรรม (Ethical)
R หมายถึง บันทึกผลได้ (Recorded)
การบริหารโดยยึดวัตถุประสงค์ MBOs (MBOs: Management by Objectives) (Thomson, 1998)
หลักการของแนวคิด คือ องค์กรจะสามารถประสบความสำเร็จถ้าหากทุกคนในองค์กรมีความพยายามที่มากพอ มี
ความมุ่งมั่นสู่เป้าหมายในทิศทางเดียวกัน
เป็นหลักการบริหารจัดการที่เน้นการกำหนดวัตถุประสงค์ที่มีความเฉพาะเจาะจงเพื่อให้บรรลุผลสำเร็จได้ในอนาคต
เป็นกระบวนการที่มุ่งเน้นการพัฒนาหรือสร้างข้อตกลงที่มีร่วมกันระหว่างผู้บังคับบัญชากับผู้ใต้บังคับบัญชาเกี่ยวกับ
การตั้งเป้าหมายที่มีความเฉพาะเจาะจงขึ้นมา
การขับเคลื่อนและพัฒนาคุณภาพการศึกษา
แนวคิดการสร้างวัตถุประสงค์และผลลัพธ์หลัก
MBOs
-มีเฉพาะวัตถุประสงค์เท่านั้น
-มีการประเมินผลรายปี
-สนใจเฉพาะวัตถุประสงค์ตนเอง
-ระบบเน้นการบริหารแบบบนล่าง
-เชื่อมโยงกับผลตอบแทน
-ระบบทำให้คนไม่กล้าเสี่ยง
OKRs
-มีวัตถุประสงค์และผลลัพธ์หลัก
-มีการประเมินรายไตรมาส
-ระบบที่มีการเปิดเผยข้อมูล
-ระบบแบ่งผสมทั้งบนล่างและล่างขึ้นบน
-ไม่เชื่อมโยงกับผลตอบแทนโดยตรง
-สนันสนุนให้คนตั้งเป้าหมาย
MBOs
ขั้นตอนแรก = กระบวนพัฒนาหลักสูตรเน้นให้ประสานงานร่วมกันระหว่างผู้บริหารกับผู้สอน
ขั้นตอนที่สอง = กระบวนการกำหนดองค์ประกอบและโครงสร้างภายในระบบการเรียนการสอน
หลักการสำคัญของ OKRs
1.เน้นเฉพาะเรื่องที่สำคัญ ระบบ OKRs: มีการตั้งเป้าหมาย สอดคล้องกับงานที่สำคัญและจำเป็น ทรัพยากรที่จำกัด
2.เน้นความเชื่อมโยงและมีการทำงานเป็นทีม : ระบบ OKRs เริ่มจากเป้าหมายสูงสุดไล่ลงมาจนเป้าหมายของทีมงาน พนักงานแต่ละคน ทั้งในหน่วยงานและระหว่างหน่วยงาน
3.เน้นผู้รับผิดชอบและติดตามได้ง่าย : ระบบ OKRs ให้พนักงานตั้งวัตถุประสงค์และผลลัพธ์หลัก และต้องคอยดูและติดตามผลของตัวเอง
4.เน้นการตั้งเป้าหมายที่ท้าทาย : ระบบ OKRs กระตุ้นให้พนักงานตั้งเป้าหมายที่ท้าทาย ไม่ผูกกับผลตอบแทน
ขั้นตอนการออกแบบ OKRs
1.ออกแบบวัตถุประสงค์ โดยจะต้องกำหนดกลยุทธ์ ให้สอดคล้องกับหน่วยงานภาครัฐและเอกชน มีจำนวนหน้า 3-5 หน้า และลักษณะเชิงคุณภาพ
2.ออกแบบผลลัพธ์หลัก ชัดเจน จำนวนเนื้อหาไม่มาก วัตถุประสงค์ 1 ข้อ/หน้า
ลักษณะเป้าหมายที่ดี
1.การตั้งเป้าหมายส่วนบุคคล มีความเฉพาะเจาะจง นำมาซึ่งประสิทธิผลที่สูง และกรณีเป็นทีม หากมีความ
สอดคล้องกับความคิดเห็นส่วนรวมของทีมจะนำมาซึ่งประสิทธิผลที่สูง เช่นกัน
2.กระตุ้นให้เกิดความผูกพันในเป้าหมาย ถึงแม้เป้าหมายจะยาก มีความท้าทาย แต่มีความเกี่ยวข้องเชื่อมโยงกับ
กิจกรรมที่ดำเนินการตามแผนที่กำหนด จะนำมาซึ่งความตั้งใจและ ประสิทธิภาพที่สูง
3.ผลสะท้อนกลับหรือผลลัพธ์จากการปฏิบัติที่มีส่วนร่วมทั้งใน กระบวนการตัดสินใจและการแข่งขันตลอดจนผล
ตอบแทน จะนำมาซึ่งความพยายามที่สูงขึ้นในการบรรลุเป้าหมายที่ตั้งไว
การตรวจสอบ OKRs
02 OKRs : ผลลัพธ์หลัก ต้องวัดผลได้ชัดเจน
03 OKRs : ที่ตั้งมีความสอดคล้องกับ OKRs ในระดับบน (Vertical Alignment) และ OKRs ในระหว่าง
หน่วยงาน (Horizontal Alignment)
01 OKRs : ที่ตั้งมีความท้าท้าย เป็นไปได้ไม่ง่าย ไม่ยาก
04 OKRs : ไม่ใช่กิจกรรมที่ต้องดำเนินการแต่เป็นการตั้งวัตถุประสงค์พร้อมทั้งผลลัพธ์หลักที่วัดผลได้ชัดเจน
ตัวอย่างการออกแบบ
มาตรฐานการศึกษาของชาติ
1.ตัวอย่าง OKRs ผู้บริหารสถานศึกษา
วัตถุประสงค์หลัก : ดูแลเด็กให้มีพัฒนาการไปตามวัย
ผลลัพธ์หลัก : เด็กเล็กที่อยู่ในความดูแลมีพัฒนาการตามวัยที่กำหนดร้อยละ xx
2.ตัวอย่าง OKRs คุณครู
วัตถุประสงค์หลัก : เด็กมีสุขภาพแข็งแรงสมบูรณ์
ผลลัพธ์หลัก : จำนวนที่ป่วยของเด็กที่อยู่ในความดูแลต่ำกว่า xx วันต่อไตรมาส
KPIs ความแตกต่าง OKRs
KPIs
ผู้บริหาร+หัวหน้างาน (การกำหนดตัวชี้วัด)
ผู้บริหาร+หัวหน้างาน (การออกแบบ)
ผูกติดกับผลตอบแทน(ค่าเป้าหมาย)
เน้นเฉพาะสิ่งที่ถูกวัด ไม่คำนึงผลเสีย (ประสิทธิภาพ/นวัตกรรม)
OKRs
ผู้บริหาร+ผู้ปฏิบัติ (การกำหนดตัวชี้วัด)
ผู้บริหาร+หัวหน้างาน+ผู้ปฏิบัติงาน (การออกแบบ)
ไม่ผูกติดกับผลตอบแทน(ค่าเป้าหมาย)
กระตุ้นผู้ปฏิบัติงานให้คิดเอง/วัดสอดคล้องระหว่างหน่วยงาน (ประสิทธิภาพ/นวัตกรรม)