Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาล ผู้ป่วยจิตเวชเด็ก - Coggle Diagram
การพยาบาล
ผู้ป่วยจิตเวชเด็ก
Intellectual Disability: ID
ภาวะพร่องทางสติปัญญา
ความหมาย
ภาวะที่ผู้ป่วยมีระดับเชาวน์ ปัญญาต่ำกว่าค่าเฉลี่ย
คือ มี IQ ต่ำกว่า 70 โดยเริ่มมีอาการแสดงก่อนอายุ 18 ปี
ร่วมกับมีความสามารถในการปรับตัวบกพร่องอย่างน้อย
2 ด้าน จาก 10 ด้าน
การสื่อความหมาย
การดูแลตนเอง
การดำรงชีวิตภายในบ้าน
การปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่นในสังคม
การนำความรู้มาใช้ในชีวิตประจำวัน
การใช้แหล่งทรัพยากรในชุมชน
การควบคุมตนเอง
การใช้เวลาว่าง
การทำงาน
การดูแลสุขภาพและความปลอดภัย
สาเหตุ
พันธุกรรม เช่น Down syndrome, Tuberous sclerosis, Phenylketonuria (PKU)
ภาวะแทรกซ้อนในระยะก่อนคลอดและระหว่างคลอด เช่น หัดเยอรมัน เริม ซิฟิลิส และเอชไอวี
สาเหตุเกิดขึ้นภายหลัง เช่น Meningitis Encephalitis การบาดเจ็บที่ศีรษะ เนื้องอกในสมอง
ลักษณะทางคลินิก
Mild Mental Retardation
I.Q. 50-70
พบ ประมาณ 85%
สามารถเรียนได้ถึงชั้น ป.6 ในหลักสูตรการศึกษาพิเศษ
สามารถพัฒนาทักษะการทำงาน ทักษะทางสังคม
มีปัญหาของการประสานงานของกล้ามเนื้อเล็กน้อย
Moderate Mental Retardation
I.Q. 35-49
พบประมาณ 10% อายุสมอง 5-6 ปี
เรียนได้ถึง ป.2 หลักสูตรการศึกษาภาคพิเศษ
สามารถฝึกอาชีพได้
มีความจำเพาะในการสื่อสาร การสร้างสัมพันธภาพและทักษะทางสังคม
ทักษะการเคลื่อนไหวพอใช้ได้
มีความจำเพาะของทักษาะการใช้ลก้ามเนื้อมัดใหญ่
Severe Mental Retardation
I.Q. 20-40
พบประมาณ 3-4%
อายุสมองประมาณ 3 ปี
เรียนไม่ได้
ฝึกอาชีพไม่ได้
การสื่อภาษาโดยการพูด เขียนทำได้น้อย
พัฒนาการเคลื่อนไหวไม่ดี
Profound mental retard
I.Q. < 20
พัฒนาการล่าช้าอย่างชัดเจนในทุกด้าน
มีขีดจำกัดในการเข้าใจและการใช้ภาษาอย่างมาก
ต้องการความช่วยเลหือ ดูแบอย่างให้ชิดตลอดเวลา
การวินิจฉัย
วัดการเจริญเติบโต การตรวจร่างกาย
ประเมินเชาว์ปัญญา
ตรวจสภาพจิตและการสัมภาษณ์
ประเมินความสามารถในการใช้ภาษา
การสื่อความหมาย
การแสดงออก
การรักษา
การรักษาโรคทางกายที่เป็นสาเหตุ
Hypothyroidism
Phenylketonuria
Hydrocephalus
การรักษาโรคทางกายท่ีมักพบร่วมกับโรคที่เป็นสาเหตุ
Hypothyroidism ในผู้ป่วย Down syndrome
การให้คำปรึกษาผู้ป่วย
การให้คำปรึกษาครอบครัว
กระบวนการพยาบาล
มีความบกพร่องของการสื่อความหมาย เนื่องจากพัฒนาการช้า
การพยาบาล
1.จัดให้มีการดูแลเด็กอย่างสม่ำเสมอ เพื่อให้เด็กเกิดความไว้วางใจ
2.ฝึกทักษะในการสื่อความหมาย โดยสอนความเข้าใจภาษา การใช้ภาษา การเปล่าเสียง การพูด เพื่อให้เด็กเกิดการเรียนรู้และพัฒนาการทางภาษาดีขึ้ต
3.ถ้าเด็กไม่พูดให้สอนการใช้ภาษาท่าหรือสัญลักษณ์ในการสื่อความหมาย
Autism
ออทิสติก
ความหมาย
ความผิดปกติของพัฒนาการเด็ก โดยเด็กไม่สามารถพัฒนา
ทักษะทางสังคมและการสื่อความหมายได้เหมาะสมตามวัย
มีลักษณะพฤติกรรม กิจกรรม และความสนใจเป็นแบบแผนซ้ำๆ
สาเหตุ
ปัจจัยทางชีวภาพ
ปัจจัยทางด้านพันธุกรรม
ความผิดปกติของโครโมโซม
ตัวที่ 2, 7, 13, 15, 16 และ 19
ปัจจัยทางสารสื่อประสาท
Serotonin ในเลือดสูง
Endorphins มีการทำหน้าที่มากกว่าปกติ
Catecholamine การทำงานที่เพิ่มข้ึน
Sulfate ในเลือดต่ำ
ปัจจัยทางภูมิคุ้มกัน
ปัจจัยของมารดาขณะตั้งครรภ์ ขณะคลอด หรือหลังคลอด
ปัจจัยทางจิตสังคม
การเลี้ยงดู
ลักษณะทางคลินิก
ความบกพร่องในการ
มีปฏิสัมพันธ์ทางสังคม
ไม่ใส่ใจกับสิ่งที่เกิดขึ้นรอบๆ
สบตาน้อย
ไม่ค่อยเข้าใจกับกฎเกณฑ์ของสังคม
ชอบเล่นคนเดียว
การสื่อสารกับผู้อื่นทั้ง
การพูดและภาษาท่าทาง
ไม่พูดหรือเริ่มพูดช้า
เรียกแล้วไม่หัน
ไม่เข้าใจในการแสดงออกของหน้า
มีปัญหาในการสื่อสารทางกาย
พฤติกรรมและความสนใจ
แบบจำเพาะซ้ำเดิมเพียงไม่ก่ีชนิด
การสะบัดมือ
หมุนข้อเท้า
โยกศีรษะ
หมุนวัตถุ
เปิดปิดไฟ
การวินิจฉัย
A
มีคุณลักษณะในการ
เข้าสังคมที่ผิดปกติ
บกพร่องอย่างชัดเจนในการใช้ท่าทางหลายอย่าง
ไม่สามารถสร้างความสัมพันธ์กับเพื่อนในระดับที่เหมาะสมกับอายุได้
ไม่แสดงความอยากเข้าร่วมสนุก ร่วมทำสิ่งท่ีสนใจ
ไม่มีอารมณ์หรือสัมพันธภาพตอบสนองกับสังคม
มีคุณลักษณะในการสื่อสารผิดปกติ
พัฒนาการในการพูดช้าหรือไม่มีเลย
ในรายที่พูดได้ ก็ไม่สามารถเร่ิมพูดหรือสนทนาต่อเนื่องกับคนอื่น
ใช้คำพูดซ้ำหรือใช้ภาษาที่ไม่มีใครเข้าใจ
ไม่มีการเล่นสมมติที่หลากหลาย
มีแบบแผนพฤติกรรม ความสนใจหรือกิจกรรมที่จำกัด
หมกมุ่นกับพฤติกรรมซ้ำ
ไม่มีความยืดหยุ่น
ทำกิริยาเดิมซ้ำๆ
สนใจหมกมุ่นกับเพียงบางส่วนของวัตถุ
C. ความผิดปกติไม่เข้ากับ Rett's disorder
B: มีความช้าหรือผิดปกติ
ในด้านต่างๆ ต่อไปนี้ก่อนอายุ 3 ปี
ปฏิสัมพันธ์กับสังคม
ภาษาที่ใช้สื่อสารกับสังคม
เล่นสมมติ
การรักษา
การกระตุ้นพัฒนาการ การปรับพฤติกรรม
ฝึกพูด และให้การศึกษาท่ีเหมาะสม
การรักษาด้วยยา
ยาต้านโรคจิต+ยากันชัด
ยาต้านเศร้า
ยาคลายกังวล
กระบวนการพยาบาล
เสี่ยงต่อการทำร้ายตนเอง
เนื่องจากความปิดปกติของสมอง
การพยาบาล
ดูแลเด็กแบบตัวต่อตัว เพื่อให้เกิดความไว้วางใจ
หาสาเหตุของการทำร้ายตัวเอง
หากิจกรรมให้เด็กทำ
เสนอตัวเข้าช่วยเหลื่อ เมื่อเด็กมีความวิตดชกกัวงลสูงขึ้น
ป้องกันอันตรายจากการทำร้ายตัวเอง