Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยเด็กที่มีปัญหา ระบบหัวใจและหลอดเลือด, นางสาวศุภิสรา…
การพยาบาลผู้ป่วยเด็กที่มีปัญหา
ระบบหัวใจและหลอดเลือด
กลุ่มโรคหัวใจแต่กำเนิด
ชนิดไม่เขียว
กลุ่มที่มีการไหลลัดของเลือด
จากหัวใจซีกซ้ายไปซีกขวา
Ventricular septal defect (VSD)
คือ
มีรูรั่วที่บริเวณผนังกั้น
ระหว่าง Ventricle
อาการและอาการแสดง
เหนื่อยง่าย
ตอนดูดนม
เหงื่อออกมาก
ตัวเล็ก
ติดเชื้อในระบบหายใจได้บ่อย ๆ
Atrial septal defect (ASD)
คือ
มีรูรั่วที่บริเวณผนังกั้น
ระหว่าง Atrium
อาการและอาการแสดง
มักจะไม่มีอาการ
แสดงหรืออาการที่ผิดปกติ
บางราย
ติดเชื้อในระบบหายใจ
เหนื่อยง่าย
เมื่อออกกำลังกาย
โตช้า
Patent ductus arteriosus (PDA)
คือ
ductus arteriosus ยังเปิดอยู่ภายหลังเด็กเกิด
สาเหตุ
การเกิดก่อนกําหนด
ภาวะออกซิเจนในเลือดต่ำ
การติดเชื้อ
เช่น
การติดเชื้อหัดเยอรมันในช่วงการตั้งครรภ์ 3 เดือนแรก
อาการและอาการแสดง
PDA ขนาดเล็ก
มักจะไม่มีอาการผิดปกติ
PDA ขนาดใหญ่
อาการของหัวใจซีกซ้ายวาย
หายใจเร็ว
เหงื่อออกมากเวลาดูดนม
เหนื่อยหอบ
น้ำหนักขึ้นช้า
กลุ่มที่มีการอุดกั้นการไหลของเลือด
Aortic stenosis (AS)
คือ
มีการตีบของลิ้นเอออร์ติค
อาการและอาการแสดง
ลิ้นตีบมาก
อ่อนเพลียง่าย
เจ็บหน้าอก
Pulmonary stenosis (PS)
คือ
มีการตีบของลิ้นพัลโมนารี
อาการและอาการแสดง
เขียวเล็กน้อย
เหนื่อยง่ายหรือเจ็บแน่นหน้าอก
อาจเป็นลมหมดสติ
Coarctation of aorta
(CoA)
คือ
มีการคอดหรือการตีบแคบที่หลอดเลือดเอออร์ต้าตรงบริเวณหลอดเลือดductus arteriosus
เลือดเลี้ยงส่วนล่างไม่สะดวก
อาการและอาการแสดง
หายใจแรงและเร็ว เหนื่อยหอบ
เหงื่อออกมาก
ชีพจรที่ขาทั้ง 2 ข้างเบา
การพยาบาล
เนื้อเยื่อของร่างกายมีโอกาสได้รับออกซิเจนไม่เพียงพอ
เนื่องจากประสิทธิการทํางานของหัวใจลดลง
1.จำกัดกิจกรรม ดูแลให้ไดพักผ่อน
จัดให้ผู้ป่วยนอนในท่าศีรษะสูง
ดูแลให้ออกซิเจนเพื่อเพิ่มความเข้มข้นของออกซิเจน
4.แนะนำหลีกเลี่ยงอาหารเค็ม
5.บันทึกสัญญาณชีพทุก 4 ชั่วโมง
เสี่ยงต่อการติดเชื้อที่ปอด เนื่องจากมีเลือดไป
ปอดมาก
1.การรักษาความสะอาดของปากฟัน
2.ดูแลให้ผู้ป่วยมีสุขวิทยาส่วนบุคคล
3.ดูแลสิ่งแวดล้อมให้สะอาด
4.ดูแลให้ยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา
มีโอกาสเกิดการติดเชื้อที่เยื่อบุหัวใจ เนื่องจากมีความผิด
ปกติของหัวใจและหลอดเลือดที่ทําให้มีการไหลลัดของเลือด
1.ดูแลรักษาความสะอาดของปากฟัน
2.ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับยาปฏิชีวนะก่อนการรับ
การทําฟัน การขูดหินปูน การถอนฟัน
3.สังเกตและติดตามประเมินอาการแสดงของภาวะเยื่อบุหัวใจอักเสบ
ชนิดเขียว
กลุ่มที่มีอาการเขียวที่มีเลือดไปปอดน้อย
Tetralogy of Fallot (TOF)
ความผิดปกติ
การตีบของลิ้นพัลโมนารี
ผนังระหว่างเวนตริเคิลมีรูรั่วขนาดใหญ่
ลิ้นเอออร์ติคเลื่อนไปทางด้านขวา
มีการหนาตัวของเวนตริเคิลขวา
อาการและอาการแสดง
อาการเขียวทั่วร่างกาย
ร่วมกับหอบลึก
ภาวะหัวใจวาย
Pulmonic atresia (PA)
คือ
มีการอุดตันของลิ้นพัลโมนารี
อาการและอาการแสดง
มีอาการเขียวตั้งแต่แรกเกิด
Tricuspid atresia (TA)
คือ
tricuspid valve ตัน
กลุ่มที่มีอาการเขียวที่มีเลือดไปปอดมาก
Transposition of great arteries (TGA)
ความผิดปกติ
มีการสลับที่กันของหลอดเลือด
แดงใหญ่ที่ออกจากหัวใจ
อาการและอาการแสดง
เขียวมากตั้งแต่แรกเกิด
หอบเหนื่อย
หัวใจวาย
รายที่มี VSD ร่วมด้วย
เหนื่อย อาการของหัวใจวาย
การพยาบาล
ผู้ป่วยเสี่ยงต่อการเกิดภาวะสมองขาดออกซิเจนได้ง่าย
สังเกตอาการเริ่มของภาวะสมองขาดออกซิเจน
กระสับกระส่าย
หายใจเร็วขึ้นและแรงขึ้น
มีอาการเขียว
ควบคุมและจํากัดกิจกรรมต่าง ๆ
ดูแลผู้ป่วยไม่ให้มีอาการท้องผูก
ส่งเสริมให้ดื่มน้ำ สังเกตและบันทึกปริมาณน้ำดื่ม
ติดตามผลการเจาะเลือดฮีมาโตคริท
ผู้ป่วยมีโอกาสเกิดการอุดตันของหลอดเลือดฝอยในร่างกายได้เนื่องจากมีภาวะเลือดข้น
ช่วยเปลี่ยนท่าและพลิกตะแคงตัวผู้ป่วยอย่างน้อยทุก 2 ชั่วโมง
ดูแลให้ผู้ป่วยดื่มน้ำอย่างเพียงพอ
บันทึกสัญญาณชีพทุก 4 ชั่วโมง
สังเกตและบันทึกจํานวนน้้าดื่มและจํานวนปัสสาวะ
สังเกตอาการผิดปกติ
ผิวหนังบริเวณแขน ขาเย็น
สีผิวคล้ำขึ้น
มีอาการปวดหรือชา
ผู้ป่วยมีโอกาสเกิดฝีในสมองได้ เนื่องจากมีความผิดปกติของหัวใจและหลอดเลือด
บันทึกสัญญาณชีพ 4 ชั่วโมง
ในรายที่สงสัยว่าเกิดเป็นฝีในสมอง
ควรประเมินทางระบบประสาทของผู้ป่วย
ติดตามผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ดูแลให้ยารักษาประคับประคอง
กลุ่มโรคหัวใจที่เกิดภายหลัง
การติดเชื้อที่เยื่อบุหัวใจ
Infective endocarditis (IE)
สาเหตุ
แบคทีเรีย
Streptococcus viridans
Staphylococcus aureus
เชื้อราริคเกทเซีย (rickettsia)
ไวรัส
อาการและอาการแสดง
มีไข้ ลักษณะไข้ต่ำ ๆ
อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร น้ำหนักลด ปวดเมื่อย เหนื่อยง่าย
เสียงฟู่ ของหัวใจ (heart murmur)
ม้ามโต กดไม่เจ็บ อาจพบตับโต
ภาวะซีด
การรักษา
ให้ยาปฏิชีวนะในขนาดสูงทางหลอดเลือดดํา
ควรติดตามเจาะเลือดส่งเพาะเชื้อในเลือดเป็นระยะ
ตรวจสอบหาแหล่งของการติดเชื้อ
การป้องกัน
ให้ยาปฏิชีวนะก่อนและหรือหลังการทําหัตถการที่มีโอกาสติดเชื้อ
การพยาบาล
การประเมินภาวะสุขภาพ
การซักประวัติ
แหล่งของการติดเชื้อ
อาการและอาการแสดง
การตรวจร่างกาย
พบเสียงฟู่ของหัวใจ
การประเมินภาวะจิตสังคม
ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ESR สูง
เม็ดเลือดขาวสูง
ปัสสาวะมีเลือดปน
ข้อวินิจฉัย
มีการติดเชื้อที่เยื่อบุหัวใจ
ดูแลให้ยาปฏิชีวนะทางหลอดเลือดดําตามแผนการรักษา
ดูแลให้ผู้ป่วยได้นอนพักผ่อน เพื่อลดการทํางานของหัวใจ
สังเกตอาการข้างเคียงของโรค
บันทึกสัญญาณชีพทุก 4 ชั่วโมง
ติดตามผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
โรคหัวใจรูห์มาติค
Rheumatic heart disease (RHD)
สาเหตุ
เกิดตามหลังไข้รูห์มาติค (rheumatic fever)
อาการและอาการแสดง
major criteria
หัวใจอักเสบ
ข้ออักเสบหลายข้อ
อาการเคลื่อนไหวผิดปกติ
ตุ่มใต้ผิวหนัง
ผื่นแดงที่ผิวหนัง
minor criteria
มีไข้ต่ำ ๆ
มีอาการปวดข้อโดยไม่มีอาการอักเสบ
เลือดกำเดาไหล
ปวดท้อง รู้สึกไม่สบาย อ่อนเพลีย ปวดเมื่อย เหงื่อออกมาก เจ็บหน้าอกซีดและน้ำหนักลด
การพยาบาล
ผู้ป่วยมีการอักเสบของกล้ามเนื้อหัวใจ เนื่องจากมีการติดเชื้อ
ดูแลให้ยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา
ดูแลให้ผู้ป่วยได้พักผ่อนอย่างเต็มที
ทํา tepid sponge
สังเกตและบันทึกสัญญาณชีพทุก 4 ชั่วโมง
ติดตามฟังเสียงฟู่ ของหัวใจ
ติดตามผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
มีการอักเสบของข้อ เนื่องจากมีการติดเชื้อ
ดูแลให้ยาแอสไพริน ตามแผนการรักษาเพื่อลดการอักเสบของข้อ
ดูแลให้ผู้ป่วยได้พักข้อที่มีการอักเสบ
สังเกตและบันทึกอาการอักเสบของข้อ
Kawasaki disease (KD)
สาเหตุ
จากเชื้อแบคทีเรีย ไวรัส ริกเก็จเชีย และอื่นๆ
อาการและอาการแสดง
ไข้
ไข้สูงเป็นพักๆ
เวลามีไข้ 5 วัน
ผื่นและต่อมน้ำเหลืองที่โต
บริเวณที่โตผิวหนังจะไม่แดง
เส้นผ่าศูนย์กลางมากกว่า 1.5 ซม. ลักษณะค่อนข้างแข็ง
การเปลี่ยนแปลงที่มือและเท้า
บวม แดง
ผิวหนังลอก
หลังจากเริ่มมีไข้อาจเห็นรอยขีดเล็กๆ (Beau Line)
ตาแดง
เป็น 2 ข้าง ภายใน 2-4 วันแรก
การแดงจะเป็นบริเวณตาขาวมาก
ริมฝี ปากแดงและแห้ง
ลิ้นจะแดงและมี prominent papillae
เรียกว่า “Strawberry tongue
การพยาบาล
ประเมินการทํางานของหัวใจและปอดและหลอดเลือด
อาการของหัวใจอักเสบ
สังเกตจังหวะการเต้นของหัวใจ
EKG เปลี่ยนแปลงไป
หายใจขัด หายใจลําบาก
ประเมินการไหลเวียนเลือดของแขนขา
วัดชีพจร โดยเฉพาะขณะให้ gamma globulin
ควรสังเกตดูปฏิกิริยาของการแพ้
ตวงและบันทึกน้ำดื่ม ปัสสาวะ ในรอบ 24 ชั่วโมง
ระวังการขาดน้ำ
ชั่งน้ำหนักทุกวัน ดูอาการบวมของภาวะหัวใจวาย
ระวังการติดเชื้อของผิวหนัง
รักษาความสะอาด ไม่อับชื้น
นางสาวศุภิสรา หงษ์ทอง เลขที่ 84 (62111301087)