Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หลักการพยาบาลอนามั้ยชุมชนหลักการสาธารณสุขมูลฐานและบทบาทหน้าที่พยาบาลอนามั้…
หลักการพยาบาลอนามั้ยชุมชนหลักการสาธารณสุขมูลฐานและบทบาทหน้าที่พยาบาลอนามั้ยชุมชน
แนวคิดหลักการสาธารณสุข
เพื่อให้ประชาชนมีสุขภาพที่ดีดำรงชีวิตอยู่ในสังคมอย่างมีความสุขปราศจากโรค
ส่งเสริมให้สามารถประกอบกิจกรรมตามหน้าที่และไม่เจ็บป่วย
ให้การดูแลประชาชนทุกภาวะสุขภาพ
ให้การดูแลประชาชนทุกสถานที่
ให้การดูแลประชาชนในลักษณะองค์รวม
ให้การดูแลประชาชนโดยไม่เลือกชั้นวรรณะ
ใช้กลวิธีต่าง ๆ ในการดูแลสุขภาพประชาชน
ประสานความร่วมมือทางด้านสังคม
เพื่อพัฒนาสุขภาพของประชาชน
แนวคิดการพยาบาลอนามัยชุมชน
การพยาบาลอนามัยชุมชน (Community Health Nursing) เป็นการปฏิบัติการพยาบาลในชุมชน แก่บุคคล ครอบครัว กลุ่มคนและชุมชน ซึ่งจำเป็นต้องใช้องค์ความรู้ทางการพยาบาลเป็นหลัก โดยเฉพาะ แนวคิดทฤษฎีทางการพยาบาล และกระบวนการพยาบาล รวมถึงองค์ความรู้ในศาสตร์สาขาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง :
1.แนวคิดทฤษฎีทางการพยาบาล
เพื่อให้เข้าใจมโนมติเกี่ยวกับมนุษย์ สิ่งแวดล้อม สุขภาพ การ เจ็บป่วยและการพยาบาล
2.ระบาดวิทยา(Epidemiology)
ใช้ในการศึกษาและการแก้ปัญหา สุขภาพของชุมชน
ศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อภาวะสุขภาพของประชาชน
สังคมวิทยาและมนุษวิทยาทางการแพทย์(Medical Sociology & Anthropology)
เพื่อทำความเข้าใจระบบวิธีคิดและการแสดงออกถึงพฤติกรรมสุขภาพ
เพื่อสามารถให้การพยาบาลได้อย่างมีประสิทธิภาพ
มิติของการให้บริการของพยาบาลอนามัยชุมชน มี 4 ด้าน
ด้านการสร้างเสริมสุขภาพ
ด้านการป้องกันโรค มี 3 ระดับ (Primary prevention/Secondary prevention/Tertiary prevention )
การให้บริการตรวจรักษาโรคเบื้องต้นและดูแลสุขภาพต่อเนื่องในหน่วยบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิ
การให้บริการฟื้นฟูสุขภาพของผู้รับบริการ
แนวคิดของการสาธารณสุขมูลฐาน
เป็นระบบบริการสาธารณสุขเพิ่มเติมและเสริมจากระบบของรัฐ
เป็นการพัฒนาชุมชนให้มีความสามารถในการแก้ไขปัญหาสาธารณสุข ได้ด้วยตนเอง
ชุมชนรับรู้และทราบว่าปัญหาของชุมชนคืออะไร และร่วมกันหาแนวทางแก้ไขปัญหา
จะต้องเข้าใจว่าเราทำงานร่วมกัน เพื่อให้เกิดการดำรงชีวิตที่ดีของชุมชน
ความร่วมมือของชุมชนเป็นหัวใจของการสาธารณสุขมูลฐาน
ต้องเชื่อมโยงกับงานบริการสาธารณสุขของรัฐ
ประกอบด้วยกิจกรรมต่างๆ การสุขศึกษา การควบคุมป้องกันโรคในท้องถิ่น
ควรมีความยืดหยุ่นในการที่จะนำมาใช้แก้ปัญหาตามความเหมาะสมของสภาพแวดล้อมและปัญหา
สอดคล้องและอาศัยประโยชน์จากสถาบันหรือระบบชีวิตประจำวันของชุมชน
ใช้เทคนิคและวิธีการง่ายๆ ไม่เกินขอบเขตและกำลังของชุมชน
สุขภาพอนามัยที่ดีมีความสัมพันธ์กับความเป็นอยู่ และการดำรงชีวิต
องค์ประกอบของงานสาธารณสุขมูลฐาน
การมีส่วนร่วมของชุมชน (People Participation หรือ Community Involvement)
การผสมผสานงานกับผู้อื่น (Intersectoral Collaboration)
การใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม (Appropriate Technology)
การบริการสาธารณสุขของรัฐต้องสนับสนุนงานสาธารณสุขมูลฐาน (Reoriented Basic Health Service)
ระบบบริการสาธารณสุขของประเทศไทย ในแผนพัฒนาสุขภาพฉบับที่ 12
สถานการณ์และปัจจัยที่มีผลต่อการพัฒนาสุขภาพ
โรคที่เกี่ยวกับความยากจน
โรคที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาสู่ความทันสมัยที่เปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตและการบริโภค ทำให้เกิดโรคเรื้อรัง
โรคที่เกิดและแพร่ระบาดในยุคโลกาภิวัตน์
วิสัยทัศน์
ระบบสุขภาพไทยเข้มแข็ง เป็นเอกภาพ เพื่อคนไทยสุขภาพดี สร้างประเทศให้มั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน
พันธกิจ
เสริมสร้าง สนับสนุนและประสานให้เกิดการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนทั้งภาครัฐ เอกชน นักวิชาการ และภาคประชาสังคม ในการอภิบาลและพัฒนาระบบสุขภาพไทยให้เข้มแข็ง รองรับกับบริบทของการเปลี่ยนแปลงในอนาคต
เป้าประสงค์
ประชาชน ชุมชน ท้องถิ่น และภาคเครือข่ายมีความรอบรู้ด้านสุขภาพเพิ่มมากขึ้น ส่งผลให้การเจ็บป่วยและตายจากโรคที่ป้องกันได้ลดลง
คนไทยทุกกลุ่มวัยมีสุขภาวะที่ดี ลดการตายก่อนวัยอันควร
เพิ่มขีดความสามารถของระบบบริการสุขภาพทุกระดับให้ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการได้อย่างสะดวก เหมาะสม
มีบุคลากรด้านสุขภาพที่ดูแลประชาชนในสัดส่วนที่เหมาะสม
มีกลไกการอภิบาลระบบสุขภาพแห่งชาติที่เหมาะสม มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ กำหนดไว้ 4 ยุทธศาสตร์
ยุทธศาสตร์ที่ 1 เร่งการเสริมสร้างสุขภาพคนไทยเชิงรุก
-เสริมสร้างภาคีเครือข่ายและพันธมิตร
-พัฒนากระบวนการกำหนดนโยบายและกฎหมายด้านสุขภาพตามหลัก Health in All Policy
-สร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพเพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
-พัฒนาระบบเพื่อจัดการกับปัจจัยที่กำหนดสุขภาพ
ยุทธศาสตร์ที่ 2 สร้างความเป็นธรรม ลดความเหลื่อมล้ำในระบบสุขภาพ
-เพิ่มขีดความสามารถของหน่วยบริการทุกระดับ
-พัฒนาความร่วมมือกับภาคีเครือข่ายและพันธมิตร
-สร้างระบบคุณภาพและความปลอดภัยของผู้ป่วย
-พัฒนาระบบการประเมินเพื่อการตัดสินใจในการใช้เทคโนโลยีด้านสุขภาพ (HTA)
-ส่งเสริมและสนับสนุนการวิจัยเพื่อพัฒนาเทคโนโลยีและผลิตภัณฑ์สุขภาพให้มีนวัตกรรมใหม่ ๆ เพื่อการพึ่งพาตนเองด้านสุขภาพ
-จัดกลุ่มหน่วยบริการปฐมภูมิ (Primary care Cluster)
ยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาและสร้างกลไกเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการกำลังคนด้านสุขภาพ
-พัฒนาระบบและกลไกการขับเคลื่อนการบริหารจัดการและการบูรณาการ
-เร่งผลิตและพัฒนากำลังคนด้านสุขภาพ
-สร้างกลไกการสื่อสารและภาคีเครือข่ายกำลังคนด้านสุขภาพ
ยุทธศาสตร์ที่ 4 พัฒนาและสร้างความเข้มแข็งในการอภิบาลระบบสุขภาพ
-สร้างระบบธรรมาภิบาลและการจัดการความรู้
-ส่งเสริมระบบการวิจัยและการสร้างนวัตกรรมด้านสุขภาพ
-พัฒนาระบบยา เวชภัณฑ์และเทคโนโลยีทางการแพทย์ของประเทศ
-เสริมสร้างกลไกและกระบวนการในการบริหารจัดการข้อมูล
-พัฒนาและปรับปรุงระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
-สร้างและพัฒนากลไกการดูแลด้านการเงินการคลังสุขภาพของประเทศให้มี S A F E
ผู้จัดทำ นายอดิเทพ ทองแสน รหัสนักศึกษา 621001103