Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความผิดปกติของระบบภูมิคุ้มกัน - Coggle Diagram
ความผิดปกติของระบบภูมิคุ้มกัน
SLE :
สาเหตุ
ภาวะเครียด
สิ่งแวดล้อม
กรรมพันธุ์
เพศ
ยาและสารเคมี
ความหมาย
เป็นโรคในระบบภูมิคุ้มกันของร่างกาย คือ ร่างกายมีการสร้างแอนติบอดีตอบสนองต่อแอนติเจนแปลกปลอมของตนเอง มีผลทำให้เกิดพยาธิสภาพที่อวัยวะในระบบต่างๆ ของร่างกาย มีการอักเสบและทำบายผิวหนัง ข้อกระดูก หัวใจ ปอด ระบบเลือด ไต และระบบประสาทส่วนกลาง
การวินิจฉัย
ข้ออักเสบ
ผื่นผีเสื้อ/ผื่นแพ้แสง
ภาวะทางไต
ระบบประสาทส่วนกลาง
ความผิดปกติของเซลล์เม็ดเลือด
ความผิดปกติทางระบบภูมิคุ้มกัน
ANA
อาการและอาการแสดง
ผิวหนังมีความไวต่อแสง
มีแผลในช่องปาก
เม็ดเลือดขาวและเกล็ดเลือดต่ำ
ระบบประสาททำงานผิดปกติ
ผื่นแดงบนใบหน้า
ซีดจากการแตกของเม็ดเลือด
มีไข้ น้ำหนักลด
มีอาการบ่งชี้ การทำงานของไตมีปัญหา
ข้ออักเสบ
การรักษา
DMARDe
NSAIDS
ยาต้านมาลาเรีย
ยากลุ่มคอร์ติโคสเตียรอยด์
Anaphylaxis
อาการ
แน่นหน้าอก ใจสั่น
รู้สึกเหมือนมีสิ่งอุดตันลำคอ กลืนลำบาก
ผื่นแดงตามผิวหนัง
ลิ้น ปาก คอบวม หายใจติดขัด เสียงดังหวีดๆ
เวียนศีรษะ N/V ท้องเสีย
พูดไม่ชัด ตะกุกตะกัก
ความหมาย
อาการแพ้คือเป็นปฏิกิริยาของร่างกายต่อต้านการแพ้ที่เกิดขึ้นอย่างเฉียบพลัน
สาเหตุ
การได้รับสารทึบแสง
การถูกพิษแมลง กัด ต่อย
NSAIDs
Antibiotic
อาหารบางประเภท เช่น อาหารทะเล
ผลิตภัณฑ์ที่ทำจากน้ำยาของพืช
การวินิจฉัย
ซักประวัติตรวจร่างกาย
การทดสอบภูมิแพ้ทางผิวหนังหรือการตรวจเลือด
มีอาการผิดปกติเฉียบพลัน ( เป็นนาทีหรือหลายชั่วโมง )
การเจาะเลือดตรวจวัดระดับ Tryptase
มีความผิดปกติอย่างน้อย 2 อาการ
ผิวหนัง
ระบบหายใจ
ทางเดินอาหาร
ความดันโลหิตต่ำ
การพยาบาล
การช่วยระบายอากาศ
การให้สารน้ำ
ให้ออกซิเจน
วัดสัญญาณชีพ ความรู้สึกตัว
จัดท่านอนยกเท้าสูง 10-12 นิ้ว
การใช้ยา
กลุ่มยาเพิ่มการไหลเวียนเลือดสู่กล้ามเนื้อหัวใจ
กลุ่มยาที่ทำให้หลอดเลือดหดตัว
กลุ่มยาช่วยเพิ่มการบีบตัวของหัวใจ
Rheumatoid [arthritis
การดำเนินของโรค
เกิดขึ้นช้าๆเริ่มจากอ่อนเพลียปวดเมื่อยกล้ามเนื้ออยู่หลายสัปดาห์จนในที่สุดจะมีอาการปวด บวม เจ็บและขัดของข้อจำนวนไม่แน่นอนหลังจากนั้นจะมีการอักเสบของข้อเป็นๆหายๆ โดยที่จะเป็นที่ข้อเล็กก่อนข้อใหญ่ เช่น นิ้วมือ นิ้วเท้า ก่อนข้อมือ ข้อเท้า ข้อศอก ข้อเข่าและอวัยวะอื่นๆเนื่องมาจากเกิดข้อติดและเคลื่อนไหวข้อนั้นๆไม่ได้
ทำได้โดยพบเกณฑ์ 4 ข้อใน 7 ข้อโดยข้อที่ 1-4
ต้องเป็นมานานอย่างน้อย 6 สัปดาห์
Arthritis of hand joints
Morning stiffness
Arthritis in three or more joint areas
Sysmetric arthritis
Rheumatoid nodules
Serum rheumatoid factor
Typical radiographic changes
เกณฑ์วินิจฉัยใช้ภาพรังสีของมือ
การรักษา
ยากลุ่ม NSAIDs
การผ่าตัดเปลี่ยนข้อเทียมหรือดึงกระดูก
เวชศาสตร์ฟื้นฟูและใส่อุปกรณ์แก้ไขข้อผิดรูป
AIDS
การรักษา
AZT+3TC+LPV/r
การวินิจฉัย
หาสารพันธุกรรมของไวรัส nucleic Acid test:NAT
ตรวจหา Anti - HIV
หาปริมาณ CD4
Viral load หาปริมาณไวรัสในเลือด
ระยะโรค
Acute
ต่อมน้ำเหลืองโต
มีอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่
มีผื่น
Clinical latent
ระยะนี้นานกว่า 10 ปี
มีเชื้อแต่ไม่แสดงอาการหรือเพียงเล็กน้อย
ระยะสุดท้าย AIDS
มีการติดเชื้อฉวยโอกาส
CD4 ต่ำกว่า 200
อาการ
Minor
ไอเรื้อรัง ผื่นทั่วตัว
หูชั้นกลางอักเสบ
มีเชื้อราในปาก หลอดอาหาร
ต่อมน้ำเหลืองโต
Major
ติดเชื้อในทางเดินหายใจส่วนล่าง
มีไข้นานเกิน 1 เดือน
น้ำหนักลด
ท้องเสียเรื้อรังมากกว่า 1 เดือน
Hypersensitivity
อาการหรืออาการแสดง
มีอาการบวมและคลื่นไส้
หน้าแดง
ปวดหลัง
มีผื่น
มีการเปลี่ยนแปลงของอัตราการเต้นของหัวใจและความดันโลหิต
หายใจลำบาก
หลอดลมหดเกร็ง
มีไข้
การรักษา
ห้องนอนควรใช้เครื่องนอนที่เหมาะสมไม่ควรใช้หมอนหรือที่นอนที่ทำจากนุ่น
ทำความสะอาดเครื่องปรับอากาศเป็นประจำ
ส่งเสริมภูมิคุ้มกันของร่างกายด้วยการ
รับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่
ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอนาน 30 นาที
ความถี่ 3-4 ครั้งต่อสัปดาห์
ความหมาย
คือภาวะที่ร่างกายตอบสนองทางภูมิคุ้มกันมากเกินพอดีต่อสารที่ทำให้เกิดอาการแพ้ซึ่งเรียกว่า Allergen ทำให้มีการอักเสบทำลายเนื้อเยื่อตนเองโดยปกติแล้วเมื่อมีเชื้อโรคหรือสิ่งแปลกปลอมเข้ามาในร่างกายก็จะสร้างภูมิคุ้มกันขึ้นมาเพื่อทำลายเชื้อโรคหรือสิ่งแปลกปลอมนั้นให้หมดไป แต่ในบางโอกาสอาจจะด้วยธรรมชาติสิ่งแปลกปลอมหรือพันธุกรรมของคนนั้นๆก็ตามภูมิคุ้มกันที่ร่างกายสร้างขึ้นมากลับไปทำลายเนื้อเยื่อของตัวเองทําให้เกิดภาวะภูมิไวเกินกลับไปทำรายเนื้อเยื่อของตัวเองทำให้เกิดภาวะภูมิไวเกิน
การวินิจฉัย
การทดสอบทางผิวหนัง(skin test)โดยนำเอาน้ำสกัดของ
สารก่อภูมิแพ้มาหยดลงบนผิวหนังบริเวณท้องแขนหรือหลัง
ใช้ปลายเข็มกดลงบนผิวหนังเพื่อให้น้ำยาซึมซับลงไปทิ้งไว้ประมาณ 20 นาทีตุ่มใดที่ผู้ป่วยแพ้จะมีรอยนูนคล้ายตุ่มยุงกัดแพทย์จะวัดขนาดของรอยนูนวิธีนี้ผู้ป่วยควรงดยาแก้แพ้้ แก้คันยาลดน้ำมูก ยาเสริมภูมิ ยารักษาภูมิแพ้ อย่างน้อย 7 วันก่อนการตรวจ
ทดสอบโดยการท้าทาย ( Challenge test ) โดยนำสารก่อภูมิแพ้ปริมาณเล็กน้อยตามที่คำนวณได้มาทดสอบโดยการรับประทาน ฉีด หรือทาแล้วค่อยๆ เพิ่มปริมาณแต่ต้องทำในโรงพยาบาลและเฝ้าติดตามอาการอย่างใกล้ชิด
การทดสอบนอกร่างกาย เช่น การเจาะเลือดไปตรวจใช้ในกรณีที่ไม่สามารถหยุดยาได้
ประเภทแบ่งตามพยาธิสภาพของเนื้อเยื่อ
Type I ( Anaphylactic hypersensitivity )
การแพ้ยาชนิดนี้เกิดจากการที่ผู้ป่วยเคยได้รับยาดังกล่าวมาก่อนทำให้มีการสร้าง IgE ที่จำเป็นเพาะต่อยานั้นๆไปจับแน่นอยู่บนผิวของ mast cell และเมื่อผู้ป่วยได้รับยาชนิดเดิมซ้ำตัวยาจะไปจับกับ IgE ที่จำเพาะต่อยาบนผิวของ mast cell ส่งผลให้ mast cell แตกตัว และมีการลัง mediators ทำให้เกิดอาการต่างๆ เช่น urticaria , angioedema, anaphylaxis ซึ่งอาการจะมักเกิดภานใน 2 ชั่วโมงหลังได้รับยา
Type II ( Cytolytic (Cytotoxic) hypersensitivity )
เกิดจากยาจับกับโปรตีนบนผิวเซลล์เกิด penitence ใหม่ทำให้มีการสร้าง IgG หรือ IgM ที่มีความจำเพาะมาจับหลังจากนั้นจะมีการกระตุ้นผ่านระบบ complement ทำให้เกิดการทำลายเซลล์นั้นๆ เช่น การเกิด immune hemolytic anemia หลังได้รับยาเพนนิซิลินหรือการเกิด immune thrombocytopenia หลังได้รับยา quinidine การแพ้ยาชนิดนี้มักเกิดอาการหลังได้รับยามากกว่า 72 ชั่วโมง
Type III (Arthus type and immune
complex hypersensitivity)
เกิดจากยาจับกับ IgG หรือ IgM ในร่างกายเกิดเป็น immune complex ไปเกาะที่ endothelial cell ของหลอดเลือดทำให้เกิดกระบวนการ complement activation ทำลาย capillary endothelial เช่น การเกิด serum sickness หลังได้รับ anti - thymocytes globulin การแพ้ยาชนิดนี้มักเกิดอาการหลังได้รับยาประมาณ 10-21 วัน
Type IV( Cell mediated ( delaled) hypersensitivity )
เกิดจากการกระตุ้นให้มีการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันแบบอาศัย T- lymphocyte ทำให้มีการหลั่ง Cytokines ทำให้มีการหลั่ง effecter cell ชนิดต่างๆโดยสามารถแบ่งย่อยออกได้เป็น 4 subtypes (IVa-IVd)
การพยาบาล
ก่อนให้ยาบำบัด
1 ซักประวัติการเกิดภาวะ hypersensitivity ในการให้ยารอบที่ผ่านมา
2 ให้ความรู้แก่ผู้ป่วยเกี่ยวกับอาการ hypersensitivity เช่น หน้าแดง แน่นหน้าอก หายใจไม่สะดวก
3 เตรียมยาและอุปกรณ์ต่างๆเช่นอุปกรณ์ให้ออกซิเจน
4 ตรวจวัดสัญญาณชีพเพื่อประเมินอาการก่อนและหลังให้ยาเคมีบำบัด
ขณะให้ยาบำบัด
1 บริหารยาเคมีบำบัดโดยการใช้ Infustion pump โดยค่อยๆปรับ drop ตามแผนการรักษาของแพทย์
2 อยู่กับผู้ป่วยในการบริหารยาเคมีบำบัดประมาณ 10-15 นาทีแรกเพื่อให้การช่วยเหลือได้ทัน
3 ให้ออกซิเจน
4ประเมินสภาพอย่างรวดเร็วและรายงานแพทย์