Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยเด็กที่มีปัญหาระบบหัวใจ และหลอดเลือด, น.ส. พิชญานิน นิสภา…
การพยาบาลผู้ป่วยเด็กที่มีปัญหาระบบหัวใจ
และหลอดเลือด
กลุ่มโรคหัวใจแต่กำเนิด (congenital heart disease)
ชนิดไม่เขียว
กลุ่มที่มีการอุดกั้นการไหลของเลือด (obstructive lesions)
Pulmonary Stenosis (PS)
ทำให้เวนตริเคิลขวาบีบตัวส่งเลือดดำผ่านลิ้นพัลโมนารีที่ตีบไปปอดได้ไม่สะดวก
อาการและอาการแสดง
เหนื่อยง่าย เจ็บแน่นหน้าอก
บางรายอาจจะมีอาการเป็นลมหมดสติ
moderate PS และ severe PS ภาวะหัวใจวาย หรืออาการเขียวเล็กน้อย
มีการตีบของลิ้นพัลโมนารี หรือมีการอุดกั้นของทางออกของเวนตริเคิลขวา
Coarctation of the Aorta (CoA)
ทำให้เลือดไหลจากหลอดเลือดเอออร์ต้าไปเลี้ยงร่างกายส่วนบนและลงสู่ส่วนที่ไปเลี้ยงร่างกายส่วนล่างได้ไม่สะดวก พบว่า ความดันโลหิตของแขนสูงกว่าขา
อาการและอาการแสดง
เหงื่อออกมาก ดูดนมช้าเลี้ยงไม่โต
หายใจแรงและเร็ว เหนื่อยหอบ
ชีพจรที่ขาทั้ง 2 ข้างเบากว่าแขน
มีการคอดหรือการตีบแคบที่หลอดเลือดเอออร์ต้าตรงบริเวณหลอดเลือดductus arteriosusมาเชื่อมกับหลอดเลือดเอออร์ต้า
การพยาบาล
ปัญหาที่ 1
ผู้ป่วยเสี่ยงต่อการติดเชื้อที่ปอด เนื่องจากมีเลือดไปปอดมาก
กิจกรรมการพยาบาล
การรักษาความสะอาดของปากฟัน
ดูแลสิ่งแวดล้อมให้สะอาด
ดูแลให้ผู้ป่วยมีสุขวิทยาส่วนบุคคล
ดูแลให้ยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา
ปัญหาที่ 2
ผู้ป่วยมีโอกาสเกิดการติดเชื้อที่เยื่อบุหัวใจ เนื่องจากมีความผิดปกติของหัวใจและหลอดเลือดที่ทำให้มีการไหลลัดของเลือด
กิจกรรมการพยาบาล
ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับยาปฏิชีวนะก่อนการรับ การทำฟัน การขูดหินปูน การถอนฟัน
สังเกตและติดตามประเมินอาการแสดงของภาวะเยื่อบุหัวใจอักเสบ
ดูแลรักษาความสะอาดของปากฟัน
Aortic stenosis (AS)
ทำให้เวนตริเคิลซ้ายบีบตัวส่งเลือดแดงผ่านลิ้นเอออร์ติคที่ตีบไปร่างกายได้ไม่สะดวก
อาการและอาการแสดง
ถ้าตีบมากอาจจะมีอาการอ่อนเพลียง่ายเวลาเล่น เจ็บหน้าอก
มีการตีบของลิ้นเอออร์ติค หรือมีการอุดกั้นของทางออกของเวนตริเคิลซ้าย
กลุ่มที่มีการไหลลัดของเลือดจากหัวใจซีกซ้ายไปซีกขวา (left to right shunt)
Atrial Septal Decfect (ASD)
มีการสร้างผนังกั้นเอเตรียม ที่ไม่สมบูรณ์
อาการและอาการแสดง
อาจจะมีการติดเชื้อในระบบหายใจ หรือมีการเติบโตช้า
อ่อนเพลีย เหนื่อยง่ายเวลาออกแรง
มักจะไม่มีอาการแสดงหรืออาการที่ผิดปกติ
มีรูรั่วที่บริเวณผนังกั้นระหว่างเอเตรียม
Patent Ductus Arteriosus (PDA)
ทําให้มีรูรั่วระหว่าง Pulmonary และ Aorta ส่วน descending aorta
โดยทั่วไป ภายหลังเด็กเกิดได้ 1-4 สัปดาห์ หลอดเลือด ductus arteriosus จะฝ่อแข็งกลายเป็นพังผืด (ligament)
มีความผิดปกติของหลอดเลือด ductus arteriosus ที่เปิดอยู่ภายหลังเด็กเกิด
สาเหตุ
ภาวะออกซิเจนในเลือดต่ำ
การติดเชื้อ เช่น การติดเชื้อหัดเยอรมันในช่วงการตั้งครรภ์
การเกิดก่อนกำหนด
อาการและอาการแสดง
ขนาดใหญ่
มีอาการหายใจเร็ว เหนื่อยหอบ น้ำหนักขึ้นช้า
เหงื่อออกมากเวลาดูดนม
มักจะมีอาการของหัวใจซีกซ้ายวาย
ขนาดเล็กมักจะไม่มีอาการผิดปกติ
Ventricular Septal Defect (VSD)
มีการสร้างผนังกั้น ventricular septum ไม่สมบูรณ์
อาการและอาการแสดง
มีเหงื่อออกมาก
ตัวเล็กหรือเลี้ยงไม่โต พัฒนาการอาจล่าช้า
เหนื่อยง่ายเวลาดูดนม
ติดเชื้อในระบบหายใจได้บ่อย ๆ
มีรูรั่วที่บริเวณผนังกั้นระหว่าง เวนตริเคิล
ชนิดเขียว
กลุ่มที่มีอาการเขียวที่มีเลือดไปปอดมาก
Transposition of great arteries (TGA)
ความผิดปกติที่ aorta ออกจาก ventricle ขวา และ pulmonary artery ออกจาก ventricle ซ้าย
กลุ่มที่มีอาการเขียวที่มีเลือดไปปอดน้อย
Transposition of the Great Arteries (TGA)
ความผิดปกติ
มีการสลับที่กันของหลอดเลือดแดงใหญ่ที่ออกจากหัวใจได้แก่ หลอดเลือดเอออร์ต้าและหลอดเลือดแดงพัลโมนารี
อาการและอาการแสดง
หอบเหนื่อย อาการของหัวใจวาย
อาการเขียวมากตั้งแต่แรกเกิด ภายใน 2-3 วันแรกหลังเกิด
การพยาบาล
ผู้ป่วยมีภาวะสมองขาดออกซิเจนอย่างเฉียบพลัน เนื่องจากสมองขาดเลือดไปเลี้ยงอย่างเฉียบพลัน
กิจกรรมการพยาบาล
ดูแลให้ผู้ป่วยสงบโดยเร็วที่สุด
จัดให้ผู้ป่วยนอนในท่าเข่าชิดอก
ดูแลให้ออกซิเจน
ติดตามค่าความเข้มข้นของออกซิเจน
ดูแลให้ยาที่ทำให้ผู้ป่วยสงบตามแผนการรักษา เช่น chloral hydrate
ดูแลให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำตามแผนการรักษา
Pulmonic atresia (PA)
มีการตันบริเวณลิ้นพันโมนารีจนเลือดไม่สามารถผ่านสู่ปอดได้
มักเกิดร่วมกับความผิดปกติอื่นๆของหัวใจ เช่น VSD
Tetralogy of Fallot (TOF / TF)
ความผิดปกติ
การตีบของลิ้นพัลโมนารี (pulmonic stenosis)
ผนังระหว่างเวนตริเคิลมีรูรั่ว (VSD) ขนาดใหญ่
ตำแหน่งของลิ้นเอออร์ติคเลื่อนไปทางด้านขวา (overriding aorta หรือ dextroposition of the aorta)
มีการหนาตัวของเวนตริเคิลขวา (right ventricular hypertrophy)
อาการและอาการแสดง
ภาวะหัวใจวาย มีปริมาณเลือดไหลลัดจากหัวใจซีกซ้ายไปซีกขวามาก จึงมีเลือดไปปอดมากขึ้น
อาการเขียวทั่วร่างกาย (central cyanosis)
กลุ่มโรคหัวใจที่เกิดภายหลัง (acquired heart disease)
Kawasaki disease (KD)
อาการและอาการแสดง
ตาแดง จะเป็นทั้ง 2 ข้าง มักเห็นภายใน 2 - 4 วันแรกนับจากเริ่มมีไข้
ริมฝีปากแดงและแห้ง เห็นได้ชัดเจนตั้งแต่วันแรกๆของโรค มีริมฝีปากแตก อาจมีเลือดออกด้วย เยื่อบุในปากแดง แต่ไม่มีแผล
การเปลี่ยนแปลงที่มือและเท้า เป็นลักษณะที่ไม่ค่อยเห็นในโรคอื่นๆ มือ เท้า จะบวม แดง
ต่อมน้ำเหลืองโต มักพบที่ anterior cervical triangle มักเป็นข้างเดียว
เป็นไข้สูงเป็นพักๆ โดยช่วงที่ไข้ลดมักจะไม่ลดลงจนเป็นปกติ
ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการและการตรวจพิเศษ
เกล็ดเลือดสูงในสัปดาห์ที่ 2-3 เลือดจาง ESR
C-reactive protein สูงขึ้น มีเม็ดเลือดขาวในปัสสาวะ
มีเม็ดเลือดขาวเพิ่มขึ้น มีเม็ดเลือดขาวที่อายุน้อยมากขึ้นด้วย
เม็ดเลือดขาวสูงในน้ำไขสันหลัง ระดับ transaminase
บิลิรูบินในซีรั่มสูงขึ้นเล็กน้อย
พยาธิสรีรวิทยา
มีการอักเสบของผนังหลอดเลือดแดงโคโรนารี่และหลอดเลือดแดงขนาดกลางอื่นๆ
มีPlatelet thrombi อุดหลอดเลือดแดง
การพยาบาล
อาหารไม่เพียงพอทั้งทางปากและหลอดเลือดดำ ป้องกันการขาดน้ำระยะเฉียบพลัน
ชั่งน้ำหนักทุกวัน ดูอาการบวมของภาวะหัวใจวาย
ตวงและบันทึกน้ำดื่ม ปัสสาวะ ในรอบ 24 ชั่วโมง ระวังการขาดน้ำ
ทำความสะอาดปาก ฟัน ปากแตกแห้ง ถ้าในปากมีเยื่อบุในปากอักเสบ อาหารต้องเป็นประเภทอ่อน
ดูปฏิกิริยาข้างเคียงของยา เช่น แอสไพรินจะมีเลือดออกและกัดกระเพาะอาหาร
ระวังการติดเชื้อของผิวหนัง ผิวหนังจะเป็นผื่นหรือบวม ควรรักษาความสะอาด ไม่อับชื้น
วัดชีพจร โดยเฉพาะอย่างยิ่งขณะให้ gamma globulin ควรสังเกตดูปฏิกิริยาของการแพ้ ถ้าแพ้ให้หยุดทันที
ลดความไม่สุขสบาย มือและเท้าบวมจะเจ็บปวดเนื่องจากแรงกดบนเนื้อเยื่อ
ประเมินการไหลเวียนเลือดของแขนขา เป็นสิ่งสำคัญโดยเฉพาะอย่างยิ่งในระยะเฉียบพลัน
จัดสภาพแวดล้อมให้เงียบสงบ ให้เด็กบางรายที่กระสับกระส่ายได้พักผ่อนเพียงพอ
ประเมินการทำงานของหัวใจและปอดและหลอดเลือดเกี่ยวกับการมีอาการของหัวใจอักเสบ
ลดความกลัวและวิตกกังวล เพราะมีผลต่อหัวใจได้
การดูแลสุขภาพที่บ้าน ต้องดูแลเรื่องหัวใจและหลอดเลือดต่อไป
สาเหตุ
จากเชื้อแบคทีเรีย ไวรัส ริกเก็จเชีย และอื่นๆ ที่กระตุ้นให้เด็กบางคนตอบสนองทางอิมมูนผิดปกติ ทำให้เกิดอาการขึ้น
Rheumatic heart disease (RHD)
ไข้รูห์มาติค (Rheumatic Fever)
อาการและอาการแสดง
minor criteria
มีไข้ต่ำ ๆ
polyarthralgia มีอาการปวดข้อโดยไม่มีอาการอักเสบ
เลือดกำเดาไหล
ปวดท้อง รู้สึกไม่สบาย อ่อนเพลีย ปวดเมื่อย เหงื่อออกมาก เจ็บหน้าอกซีด และน้ำหนักลด
มีประวัติเคยเป็นไข้รูห์มาติค
major criteria
Carditis
polyarthritis
chorea หรือ sydenham’s chorea
subcutaneous nodules
erythema marginatum
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
กระเพาะเชื้อจากบริเวณคอ (thoat swab culture)
antistreptolysin O (ASO)
autoimmune reaction มักเกิดตามหลังคออักเสบเนื่องจากเชื้อ β-hemolytic streptococcus group A อาจเกิดภาวะหัวใจวายและลิ้นหัวใจมักถูกทำลาย
การวินิจฉัยโรค
Jone’s criteria
1 major criteria และ 2 minor criteria
2 major criteria
โรคที่มีการอักเสบของเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน เช่น หัวใจ เนื้อเยื่อของข้อ สมอง เนื้อเยื่อใต้ผิวหนัง และผิวหนัง
การรักษา
ให้ยาสำหรับต้านการอักเสบของหัวใจและข้อ
ได้แก่
salicylate
steroid
ผู้ป่วยที่มี arthritis carditis ที่ไม่มีหัวใจโต ให้ยา salicylates
ผู้ป่วยที่มี carditis ที่มีหัวใจโตหรือมีอาการหัวใจวาย ควรให้ยาเพรดนิโซโลน 2 มิลลิกรัม
ให้นอนพัก โดยทั่วไปผู้ป่วยที่มี carditis และอาการหัวใจวาย จนกว่าจะควบคุมภาวะหัวใจวายได้ ต่อมาค่อย ๆ เพิ่มการเคลื่อนไหวมากขึ้นในเวลา 3 เดือน
ให้ยาปฏิชีวนะสำหรับกำจัดเชื้อสเตร็ปโตคอคคัสกลุ่มเอ
ในผู้ป่วยที่มีภาวะหัวใจวาย ให้การรักษาโดยให้ยา digitalis เช่น digoxin ยาขับปัสสาวะ ยาลด afterload ได้แก่ ยาขยายหลอดเลือดแดง รวมทั้งยา กลุ่ม angiotensin converting enzme inhibitor
การพยาบาล
ปัญหาที่ 2
มีการอักเสบของข้อ เนื่องจากมีการติดเชื้อ β-hemolytic Streptococcus group A
กิจกรรมการพยาบาล
ดูแลให้ยาแอสไพริน ตามแผนการรักษาเพื่อลดการอักเสบของข้อ
ดูแลให้ผู้ป่วยได้พักข้อที่มีการอักเสบ
ช่วยเหลือผู้ป่วยในการทำกิจกรรมต่าง ๆ
ควรระวังอุบัติเหตุ
สังเกตและบันทึกอาการอักเสบของข้อ เช่น บวม แดง ร้อน ปวดหรือกดเจ็บ
ปัญหาที่ 1
ผู้ป่วยมีการอักเสบของกล้ามเนื้อหัวใจ เนื่องจากมีการติดเชื้อ β-hemolytic Streptococcus group A
กิจกรรมการพยาบาล
ดูแลให้ยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา
ดูแลให้ผู้ป่วยได้พักผ่อนอย่างเต็มที่ เพื่อลดการทำงานของหัวใจ
ดูแลให้ยาแอสไพริน หรือ เพื่อลดการอักเสบของหัวใจ และลดไข้
ดูแลให้ยาเพรดนิโซโลน มีภาวะหัวใจวาย ลดการอักเสบของกล้ามเนื้อหัวใจ
ทำ tepid sponge
ดูแลให้อาหารอ่อน
สังเกตและบันทึกสัญญาณชีพทุก 4 ชั่วโมง และชีพจรขณะนอนหลับ (sleeping pulse)
ติดตามฟังเสียงฟู่ของหัวใจ (cardiac murmur)
ติดตามผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ เช่น throat seab culture, ASO titer, ESR, CROP
Infective endocarditis (IE)
การติดเชื้อที่เยื่อบุหัวใจ (Infective endocarditis)
อาการและอาการแสดง
มีไข้ ลักษณะไข้ต่ำ ๆ
อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร น้ำหนักลด ปวดเมื่อย เหนื่อยง่าย
เสียงฟู่ของหัวใจ (heart murmur)
การตายของสมอง ภาวะซีด
ม้ามโต กดไม่เจ็บ อาจพบตับโต
การรักษา
ให้ยาปฏิชีวนะในขนาดสูงทางหลอดเลือดดำ
ควรติดตามเจาะเลือดส่งเพาะเชื้อในเลือดเป็นระยะ ๆ
ตรวจสอบหาแหล่งของการติดเชื้อที่ทำให้เกิด IE เช่น ฟัน ทางเดินปัสสาวะ
ระบาดวิทยา
กลุ่มโรคหัวใจที่เกิดภายหลัง เช่น โรคหัวใจรูห์มาติคที่มีพยาธิสภาพ
กลุ่มเด็กโรคหัวใจที่ได้รับการผ่าตัด
กลุ่มโรคหัวใจแต่กำเนิดทั้งชนิดที่มีอาการเขียวและไม่เขียว มักพบการติดเชื้อที่หัวใจซีกขวา>หัวใจซีกซ้าย
กลุ่มที่มีปัจจัยเสี่ยงอื่น เช่น การทำฟัน การใส่สายสวนปัสสาวะ การเจาะเลือด
การป้องกัน
ให้ยาปฏิชีวนะก่อนและหรือหลังการทำหัตถการที่มีโอกาสเสี่ยงต่อการติดเชื้อในกระแสโลหิตเพิ่มขึ้น
สาเหตุ
แบคทีเรีย โดยเฉพาะเชื้อ Streptococcus viridans, Staphylococcus aureus
แบคทีเรีย เชื้อรา ริคเกทเซีย (rickettsia) หรือไวรัส
การพยาบาล
ปัญหาที่ 2
อาจเกิดการติดเชื้อที่เยื่อบุหัวใจซ้ำได้
กิจกรรมการพยาบาล
ดูแลสุขอนามัยรักษาความสะอาด พักผ่อนให้เพียงพอ
แนะนำบิดามารดาและ/หรือผู้ป่วยให้ดูแลสุขภาพในช่องปาก
สังเกตอาการแสดง ที่บ่งชี้ว่าผู้ป่วยอาจมีการติดเชื้อ
การรับประทานยาปฏิชีวนะเพื่อป้องกันก่อนรับการหัตถการ
มาตรวจตามนัด
ปัญหาที่ 1
มีการติดเชื้อที่เยื่อบุหัวใจ เช่น ที่ลิ้นหัวใจต่าง ๆ
กิจกรรมการพยาบาล
ดูแลให้ยาปฏิชีวนะทางหลอดเลือดดำแก่ผู้ป่วยตามแผนการรักษา
ดูแลให้ผู้ป่วยได้นอนพักผ่อน เพื่อลดการทำงานของหัวใจ
ดูแลให้รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ ครบห้าหมู่โดยเป็นอาหารที่อ่อน ย่อยง่าย และให้มีช่วงพักระหว่างรับประทานอาหารด้วย
สังเกตอาการข้างเคียงของยาปฏิชีวนะ
สังเกตอาการข้างเคียงของโรค
จัดกิจกรรมการเล่นต่าง ๆ
บันทึกสัญญาณชีพทุก 4 ชั่วโมง
สังเกตอาการและอาการแสดงของการติดเชื้อที่เยื่อบุหัวใจ
ติดตามผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ ค่า ESR จำนวนเม็ดเลือดขาว
น.ส. พิชญานิน นิสภา 62111301059 เลขที่ 57