Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
คุณยายอายุ 85 ปี มีภาวะเสี่ยงสมองเสื่อม - Coggle Diagram
คุณยายอายุ 85 ปี มีภาวะเสี่ยงสมองเสื่อม
ความหมายภาวะสมองเสื่อม (Dementia)
ภาวะสมองเสื่อม เป็นกลุ่มอาการที่เกิดจากความผิดปกติในการทางานของสมองในส่วนของเปลือกสมอง เป็นสาเหตุสาคัญที่สุดที่ทาให้ผู้สูงอายุทั่วโลกมีความพิการ และพึ่งตนเองไม่ได้
พยาธิสรีรภาพ
ปริมาณและจำนวนเซลล์สมองที่ทำหน้าที่ในคนปกติจะมีการลดจำนวนลงเรื่อยๆ เมื่ออายุเพิ่มขึ้น ในผู้รับบริการภาวะสมองเสื่อมพบว่า จำนวนเซลล์ของสมองที่ทำงานลดลงอย่างมากอย่างเห็นได้ชัดเจน จึงทำให้มี
ปัญหาด้านความจำ การรับรู้ ความคิด การตัดสินใจ อารมณ์ และบุคลิกภาพผิดไปจากเดิมอย่างมาก และพบว่าใยของประสาทในสมองมีความผิดปกติในด้านโครงสร้างผู้รับบริการอัลไซเมอร์พบว่า มีสารผิดปกติ คือ อมัยลอยด์ (Amyloid) ในสมอง และมีระดับของDopa mine ลดลงอย่างมาก ทำให้การทำงานของสมองเสื่อมลดลงจนกระทั่งส่งผลกระทบต่อการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันของผู้รับบริการ
การวินิจฉัย
ทดสอบความจาและประเมินความสามารถด้านสติปัญญาโดยใช้Mini-MentalState Examination-Thai version (MMSE-Thai) ประเมินภาวะซึมสับสนเฉียบพลัน (Confusion Assessment Method: CAM) หรือภาวะสมองและประเมินความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน (basic ADL)
กรณีศึกษา : MMSE 10 คะแนน มีความเสี่ยง แบบประเมิน ADL 20 คะแนน
ตรวจคัดกรองเบื้องต้นว่ามีอาการซึมเศร้าหรือไม่เพื่อประเมินภาวะทางจิตโดยใช้Geriatric Depression Scale (GDS) หรือเครื่องมือของ Beck ฉบับย่อ
1.ซักประวัติและตรวจร่างกายเพื่อต้องการรายละเอียดของอาการผรู้ับบรกิารโดยทั่วไปผู้รบับริการควรมีญาติหรือผู้ดูแลที่อยู่กับผู้รับบริการมานานและทราบรายละเอียด อย่างดีมาร่วมในการซักประวัติ
4.การตรวจร่างกายเช่นตรวจเลือดเพื่อประเมนิการทางานของรา่งกายเบาหวานไตวัดความดันโลหิต ตรวจการทางานของหัวใจ เอ็กซเรย์ปอด และอาจเอ็กซเรย์คอมพิวเตอร์สมอง เพื่อค้นหาสาเหตุจากโรคที่รักษา หาย เป็นต้น
ปัจจัยเสี่ยง
1.โรคหลอดเลือดสมอง เช่น เคยเป็นอัมพฤกษ์หรืออัมพาตมาก่อน หรือเคยมีอุบัติเหตุที่ศีรษะ
กรณีศึกษา : เมื่อ 1 ปีก่อน ผู้รับบริการเคยเกิดอุบัติเหตุที่ศีรษะหัวโขกกับรถไถ
โรคประจำตัว ได้แก่ ความดันโลหิตสูง เบาหวาน และภาวะดื้อต่ออินซูลิน โรคหลอดเลือดหัวใจ หรือหัวใจเต้นผิดปกติ ภาวะไขมันในเลือดสูง โรคซึมเศร้า อาการซึม ภาวะสับสนเฉียบพลัน
การสูบบุหรี่ ดื่มสุราหรือสิ่งเสพติด
น้ำหนักตัวเกิน ขาดการออกกำลังกาย รับประทานอาหารที่มีไขมันอิ่มตัว และโคเลสเตอรอลสูง
สารพิษในสิ่งแวดล้อมรอบตัว
ระดับโฮโมซีสเตอีนในเลือดสูง (Hyperhomocysteinemia)
พันธุกรรม พบว่า คนที่มีพ่อหรือแม่มีภาวะนี้ จะมีโอกาสเกิดมากกว่าคนที่มีพ่อแม่ปกติ 3 เท่า ถ้าพ่อและแม่มีภาวะนี้ จะมีโอกาสเป็นมากกว่าปกติ 5 เท่า
3.ผู้หญิงมีระดับฮอร์โมนเพศหญิงต่ำมากนาน
การป้องกัน
รับประทานอาหารครบหมู่ หลีกเลี่ยงอาหารที่มีไขมันอิ่มตัว และโคเลสเตอรอลสูง ใช้น้ามันพืช เช่น น้ามันจากดอกทานตะวัน ถั่วเมล็ดแห้ง เมล็ดฝักทอง ถั่วเหลือง เป็นต้น รับประทานปลาทะเลให้มาก รับประทาน อาหารที่มีวิตามินซี
ออกกาลังกายสม่าเสมอ สัปดาห์ละ 3-5 ครั้ง เช่น เดินเล่น รามวยจีน เป็นต้น
ฝึกฝนสมองได้แก่การพยามฝึกให้สมองได้คิดบ่อยๆเช่นอ่านหนังสือหรือเขียนหนังสือบ่อยๆคิดเลข ดูเกมตอบปัญหา ฝึกหัดการใช้อุปกรณ์ใหม่ๆ เป็นต้น
ควบคุมน้าหนักตัวไม่ให้เกินเกณฑ์ โดยควบคุมดัชนีมวลกายไม่เกิน 25 หลีกเลี่ยงการใช้ยาหรือสาร ที่จะทาให้เกิดอันตรายแก่สมอง เช่น การดื่มเหล้าจัด การสูบบุหรี่ หรือการรับประทานยาโดยไม่จำเป็น
การพูดคุยพบปะผู้อื่นบ่อยๆเช่นไปวัดไปงานเลี้ยงต่างๆหรือเข้าชมรมผู้สูงอายุเป็นต้น
ตรวจสุขภาพประจาปีถ้ามีโรคประจาตัวที่สาคัญเช่นความดันโลหิตสูงโรคเบาหวานโรคหัวใจและหลอดเลือด ต้องติดตามการรักษาเป็นระยะอย่างต่อเนื่อง เพราะเป็นปัจจัยเสี่ยงที่สาคัญของภาวะสมองเสื่อม
ระมัดระวังเรื่องอุบัติเหตุต่อสมองระวังการหกล้มเป็นต้น
พยายามมีสติในสิ่งต่างๆ ที่กาลังทา และฝึกสมาธิอยู่ตลอดเวลา
การพยาบาลผู้รับบริการที่มีภาวะสมองเสื่อม
4.การป้องกันอุบัติเหตุ
5.ป้องกันภาวะแทรกซ้อน
3.การแก้ไขปัญหาพฤติกรรมที่เบี่ยงเบนจากปกติ เช่น การตั้งคำถามซ้ำๆ การเลือกเสื้อผ้าและการแต่งกาย
6.การรักษาหน้าที่ของสมองให้คงอยู่มากที่สุด
2.การสื่อสารและการใช้ภาษา
7.ส่งเสริมภาวะทางด้านจิตสังคมที่มีภาวะสมองเสื่อม
1.การส่งเสริมให้ผู้รับบริการทำกิจวัตรประจำวันให้นานที่สุด