Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 9 สถิติอนุมานสำหรับการวิจัยทางส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร - Coggle…
หน่วยที่ 9 สถิติอนุมานสำหรับการวิจัยทางส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
9.1การทดสอบความแตกต่าง
การทดสอบค่าเฉลี่ยของประชากรเดียว
เป็นการทดสอบว่าค่าเฉลี่ยของลักษณะที่สนใจศึกษาในประชากรเป็นไปตามที่ผู้วิจัยคาดไว้หรือไม่
การทดสอบสมมติฐานทางเดียว
การทดสอบสมมติฐานสองทาง
การทดสอบผลต่างของค่าเฉลี่ยของสองประชากร
การทดสอบค่าเฉลี่ยของสองประชากรเมื่อตัวอย่างเป็นอิสระกัน
การทดสอบค่าเฉลี่ยของสองประชากรเมื่อตัวอย่างมีความสัมพันธ์กัน
9.2 การทดสอบโดยใช้ไคสแควร
การทดสอบความเป็นอิสระ
การทดสอบสัดส่วน
9.3 การวัดความสัมพันธ์โดยสหสัมพันธ์
แนวคิดเกี่ยวกับความสัมพันธ์ของตัวแปร
สหสัมพันธ์อย่ำงง่าย
สหสัมพันธ์เชิงส่วน
สหสัมพันธ์พหุคูณ
สหสัมพันธ์อย่างง่าย
การคำนวณค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์อย่างง่าย
การทดสอบค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์
สหสัมพันธ์เชิงส่วน
9.4 การวิเคราะห์การถดถอย
การวิเคราะห์การถดถอย
(regression analysis) เป็นวิธีที่ใช้วัดความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรตามและตัวแปรอิสระซึ่งจะบอกถึงขนาด ทิศทาง ของความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรดังกล่าว และยังสามารถใช้ในการพยากรณ์การเปลี่ยนแปลงของตัวแปรตามเมื่อกำหนดค่าตัวแปรอิสระให้ได้อีกด้วย
ประเภทของการวิเคราะห์การถดถอย
การวิเคราะห์การถดถอยอย่างง่าย
การวิเคราะห์การถดถอยพหุ
แบบจำลองสมการถดถอย
แบบจำลองสมการถดถอยอย่างง่าย
แบบจำลองสมการถดถอยพหุ
ขั้นตอนในการทดสอบ
ตั้งสมมติฐานการทดสอบ
กำหนดระดับนัยสำคัญ
กำหนดตัวสถิติที่ใช้ทดสอบและคำนวณค่าสถิต
สรุปผลการทดสอบ
การพยากรณ์ค่าตัวแปรตามของสมการถดถอยอย่างง่าย
การพยากรณ์แบบเป็นช่วง
การพยากรณ์แบบเป็นจุด
สถิติเชิงอนุมาน หรือสถิติอ้างอิง (inferential statistics) เป็นสถิติที่ใช้เพื่อนำผลสรุปของข้อมูลที่คำนวณได้ จากการเก็บรวบรวมข้อมูลของกลุ่มตัวอย่างซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของประชากรทั้งหมด
1. สถิติพาราเมตริก
เป็นสถิติที่ใช้สรุปอ้างอิงค่าสถิติที่คำนวณได้จากกลุ่มตัวอย่างไปสู่ค่าพารามิเตอร์ซึ่งเป็นลักษณะของประชากร โดยมีข้อตกลงเบื้องต้นในการใช้สถิติพาราเมตริกคือ ข้อมูล
ของประชากรต้องมีการแจกแจงเป็นโค้งปกติ ความแปรปรวนของประชากรที่ศึกษาแต่ละกลุ่มต้องไม่แตกต่างกัน และข้อมูลที่ใช้ในการวิเคราะห์ต้องอยู่ในระดับการวัดแบบอันตรภาคหรืออัตราส่วน
2. สถิตินอนพาราเมตริก
เป็นสถิติที่ใช้สรุปอ้างอิงลักษณะของกลุ่มตัวอย่างไปสู่ลักษณะของประชากรโดยไม่อ้างอิงพารามิเตอร์
สถิติเชิงอนุมานใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลต่อไปนี้
การประมาณค่าพารามิเตอร์
การเปรียบเทียบตัวแปร
การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของตัวแปร
พิจารณาจากข้อตกลงเบื้องต้นของการใช้สถิติ