Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การเงินการคลังสุขภาพ (Health care financing) - Coggle Diagram
การเงินการคลังสุขภาพ (Health care financing)
ปัญหาระหว่างผู้เอาประกัน และผู้บริหาร
ผู้เอาประกัน
กลุ่มเสี่ยงซื้อกันกันมาก (Adverse selsction) กรณีvoluntary insurance
จริยธรรมการใช้บริการ(User moral hazard) โดยการใช้บริการมากเกินจำเป็น
องค์กรประกัน
คัดเลือกกลุ่มเสี่ยง risk selection กรณี voluntary
insurance
ผู้ให้บริการ
จริยธรรมการใหบริการ(Provider moral hazard)
การให้บริการเกินความจําเป็น (Over-service)
การให้บริการต่ำกว่าที่ควร (Under-service)
แนวทางการเงินการคลังในระบบสุขภาพ
กระบวนก่สนับสนุนด้านการเงินให้กับสถานบริการสาธารณสุข(Process of funding health service) เพื่อใช้ตามพันธกิจหลักและพันธกิจรอง โดยมีเป้าหมาย (Gold) สถานะสุขภาพของประชาชนดีขึ้นสูงสุด (Maximise health) อย่างถ้วนหน้า (Health for all)
การทำให้ได้รับสิทธิอันเท่าเทียมกัน
ความเท่าเทียม
ความเป็นจริง
ความเป็นธรรม
เป้าหมายของการคลังสุขภาพ (Health financing objective)
1 ทำให้มีเงินเพียงพอในการจัดบริการสุขภาพ
ประเทศยากจน : จะหาเงินมาจากไหนให้พอในการจัดบริการ
ประเทศปานกลาง : จะทำอย่างไรจึงจะมีหลักประกัน สุขภาพครอบคลุม
ประเทศร่ำรวย: จะควบคุมค่าใช้จ่ายที่เพิ่มขึ้นได้อย่างไร
2 จัดระบบกลไลให้ใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัดให้เกิดประโยชน์สูงสุด
การเลือกซื้อบริการ
การจ่ายค่าบริการ
เพื่อให้ผู้ให้บริการมีแรงจูงใจในการให้บริการ
มีประสิทธิภาพในการบริการสูง เช่น จ่ายค่าบริการอย่างไร และอัตราเท่าใด
3 ให้ประชาชนเข้าถึงบริการสุขภาพที่มีประสิทธิภาพเท่าเทียมกัน
Moral hazard
หลังจากผู้เอาประกันทำสัญญาประกันแล้ว มีพฤติกรรมเปลี่ยนไป เพราะเกิดความรู้สึกว่า ฉันจะทำอะไรก็ได้ เดี๋ยวประกันก็มาจ่ายเป็นต้น
ปัญหาระบบสุขภาพในประเทศไทย
การเลือกและการให้สิทธิกับผู้มีรายได้น้อย ผู้ป่วยเลือกซื้อบัตรสุขภาพเป้นส่วนใหญ่ (adverse selection) อัตราการคืนทุนต่ำในบัตรสุขภาพการให้บริการน้อยกว่าที่ควรในประกันสังคม (เอกชน) ค่าใช้จ่ายของสวัสดิการข้าราชการสูงมาก ความไม่เท่าเทียมของบริการและค่าใช้จ่ายระหว่างระบบ
รูปแบบการประกันสุขภาพในประเทศไทย
สวัสดิการรักษาพยาบาล และ พนักงานรัฐวิสากิจ
ประกันสังคม กองทุนเงินทดแทน การประกันภัยภายใต้พรบ คุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ (การประกันสุขภาพภาคบังคับ)
ระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้า
ประกันกับบริษัทเอกชน (สมัครใจ)
ประเภทของการประกันสุขภาพ
การสร้างหลักประกันสุขภาพจากระบบภาษี
การประกันสุขภาพแบบบังคับ
การประกันสุขภาพแบบสมัครใจ
หน่วยบริการสุขภาพ
ระบบบริการภาครัฐ
งบประมาณภาครัฐ
รายจ่ายจากองค์การปกครองส่วนท้องถิ่น
สวัสดิการข้าราชการ
มีเสถียรภาพมากได้จากการเก็บภาษี(Taxation)
ขึ้นอยู่กับนโยบายทางการเมือง
สภาพปัญหา
เกิดความซ้ำซ้อนการบริหารจัดการ
การลักลั่นของสิทธิประโยชน์
ภาระเบี้ยประกัน
การจัดการบริหารด้านการเงินการคลัง
ประเทศไทยมีระบบประกันสุขภาพอยู่ 3 ระบบ ซึ่งอยู่ภายใต้ 3 กระทรวงหลัก
กระทรวงการคลัง
กระทรวงสาธารณสุข
กระทรวงแรงงาน
ระบบบริการการเอกชน
รายจ่ายโดยตรงจากครัวเรือน
รายจ่ายจากระบบประกันสุขภาพโยสมัครใจ(ประกันชีวิต)
ขาดเสถียรภาพง่ายขึ้นอยู่กับภาวะวิกฤตเศรษฐกิจ (การถูกเลิกจ้างงานรายจ่ายเพิ่มขึ้น)
หาบริการอื่นทดแทนได้
แหล่งการคลังอื่นๆ
เงินช่วยเหลือจากต่างประเทศ
เงินอื่น ๆ
ไม่แน่นอนขึ้นอยู่กับสภาพความรุนแรงของปัญหาภายในประเทศ
Adverse selection
มีความเสี่ยงสูง และมีความเสี่ยงต่ำและผู้เอาประกันทั้งสองกลุ่มต่างรู้ดีแก่ใจว่าตนอยู่ในกลุ่มความเสียงสูงหรือกลุ่มความเสี่ยงต่ำ แต่บริษัทประกันไม่ทราบเพราะไม่สามารถประเมินความแตกต่างจากการดูภายนอกอย่างผิวผินได้ บริษัทประกันจึงไม่สามารถแยกแยะว่าผู้เอาประกันเหล่านั้นมีความเสี่ยงสูงหรือต่ำที่เจ็บป่วย ทุพพลภาพ หรือเสียชีวิต