Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การวัดและการประเมินผลการเรียนรู้ - Coggle Diagram
การวัดและการประเมินผลการเรียนรู้
ความสำคัญของการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
ด้านการแนะแนว
ด้านการบริหาร
ด้านการจัดการเรียนรู้
เพื่อวินิจฉัย
(Diagnostic)
เพื่อการเปรียบเทียบ
(Assessment)
เพื่อจัดตำแหน่ง
(Placement
เพื่อตรวจสอบและปรับปรุง
การประเมินเพื่อพัฒนา
(Formative Evaluation)
ด้านการวิจัย
ข้อมูลจากการวัดและประเมินผลนำไปสู่ปัญหาการวิจัย
การวัดและประเมินเป็นเครื่องมือของการวิจัย
เครื่องมือที่ใช้วัดและประเมินผลด้านการศึกษา
มาตรประมาณค่า (Rating Scale)
แบบบันทึกพฤติกรรม (Records)
แบบสำรวจรายการ(Checklist)
การสัมภาษณ์ (Interview)
การสังเกต (Observation)
แบบสอบถาม(Questionaire)
การทดสอบ (Testing)
สังคมมิติ (Sociometry)
การวัดด้านพุทธพิสัย จิตพิสัยทักษะพิสัย และเครื่องมือ
ด้านพุทธิพิสัย
พฤติกรรมด้านสมองเป็นพฤติกรรมเกี่ยวกับสติปัญญา
การประยุกต์
การวิเคราะห์
ความเข้าใจ
การสังเคราะห์
การประเมินค่า
ความรู้ที่เกิดจากความจำ
ด้านจิตพิสัย
พฤติกรรมด้านจิตใจ ค่านิยม ความรู้สึก ความซาบซึ งทัศนคติ ความเชื่อ ความสนใจและคุณธรรม
การเกิดค่านิยม
การจัดระบบ
การตอบสนอง
บุคลิกภาพการนำค่านิยมที่ยึดถือมาแสดงพฤติกรรมที่เป็นนิสัยประจำตัว
การรับรู้
หลักการวัดพฤติกรรมจิตพิสัย
วัดให้ครอบคลุมพฤติกรรมหรือคุณลักษณะที่ต้องการวัด
วัดผลอย่างต่อเนื่อง
ต้องอาศัยความร่วมมือจากผู้ที่ถูกวัดเป็นอย่างดี
วัดหลายๆ ครั้ง และใช้เทคนิคการวัดหลายวิธี
ใช้ผลการวัดให้ถูกต้อง
วัดให้ครอบคลุมพฤติกรรมหรือคุณลักษณะที่ต้องการวัด
วิธีการและเครื่องมือที่ใช้วัดพฤติกรรมจิตพิสัยการสังเกต
เครื่องมือชนิดนี้ ใช้ครูหรือตัวบุคคลทำหน้าที่ในการวัดโดยใช้ประสาทสัมผัสทั้งห้า
ลักษณะของการสังเกตจะปล่อยให้สภาพการณ์ต่างๆ ดำเนินไป ตามธรรมชาติ ในการเรียนการสอนการสังเกตทำให้ครูทราบข้อมูลที่ลึกซึ้งเกี่ยวกับคุณลักษณะของผู้เรียน ซึ่งเห็นได้จากพฤติกรรมที่แสดงออกมา
เป็นวิธีการหนึ่งในการเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับพฤติกรรมของผู้เรียน
คุณลักษณะต่างๆ ได้แก่ ความสนใจ นิสัยการเรียน การมีส่วนร่วมในการปฏิบัติงาน
ด้านทักษะพิสัย
(Psychomotor Domain) พฤติกรรมด้านกล้ามเนื้อประสาทบ่งถึงความสามารถในการปฏิบัติงานได้อย่างคล่องแคล่วช้านาญ
คุณลักษณะในการวัดผลงาน
ทักษะการปรับปรุงผลงาน
ความปลอดภัยของผลงาน
ปริมาณงาน
ข้อบกพร่องจากการปฏิบัติ
คุณภาพของผลงาน
กระบวนการวัดพฤติกรรมด้านทักษะพิสัย
วิเคราะห์งานเพื่อกำหนดคุณลักษณะที่ใช้ในการวัดทักษะ
กำหนดวิธีการวัดและเครื่องมือที่ใช้ในการวัด
กำหนดเงื่อนไขหรือสถานการณ์ที่ใช้ในการปฏิบัติงาน
กำหนดวิธีการประเมินผลและรายงานผล
กำหนดงานให้ผู้เรียนปฏิบัติ
สร้างเครื่องมือที่ใช้ในการวัด
กำหนดจุดประสงค์การเรียนรู้
ดำเนินการวัดผลและประเมินผล
วิธีการที่ใช้ในการวัดด้านทักษะพิสัย
การทดสอบ
การให้ผู้เรียนรายงานตนเอง
การจัดอันดับคุณภาพ
การสัมภาษณ์
การสังเกต
การสร้างเครื่องมือวัดพฤติกรรมทักษะพิสัย
การดำเนินการสร้างเครื่องมือ
ตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือ
วางแผนการสร้างเครื่องมือ
สร้างคู่มือการใช้
การประเมินผลการจัดการเรียนรู้แนวใหม่
แนวทางประเมินการเรียนรู้
การประเมินการปฏิบัติ (performance assessment)
มีการกำหนดวัตถุประสงค์ของการวัดไว้อย่างชัดเจน
มีการกำหนดวิธีทำงาน
มีเกณฑ์การให้คะแนนที่ชัดเจน และมีการประเมินพฤติกรรม
ขั้นสุดท้ายของการปฏิบัติงาน
วิธีการประเมินการปฏิบัติงาน
การสังเกต (observation) :
การวิเคราะห์ (analysis)
การสืบค้น (inquiry) :
การทดสอบ (testing)
การใช้แฟ้มสะสมผลงาน (portfolio)
แฟ้มสะสมงานอาจมีตัวอย่างชิ้นงานที่ทำในแต่ละขั้นตอน หรือคำอธิบายกระบวนการแต่ละขั้นตอนในการทำงาน
แฟ้มสะสมงานเป็นการบันทึกพัฒนาการของผู้เรียน รวมถึงความสามารถในการทางานร่วมกับคนอื่นๆ
เป็นเครื่องมือที่สะท้อนงานที่ลงมือปฏิบัติตรงตามสภาพจริงได้เหมาะสาหรับการประเมินระดับห้องเรียนที่รวบรวมงานต่างๆที่ผู้เรียนทำทุกอย่าง
การประเมินตามสภาพจริง (authentic assessment)
ลักษณะสาคัญของการประเมินจากสภาพจริง
ให้ความสำคัญกับการพัฒนาจุดเด่นของผู้เรียน
เน้นการประเมินตนเองและอยู่บนพื้นฐานของสถานการณ์ที่เป็นชีวิตจริง
เน้นพฤติกรรมการแสดงออกของผู้เรียนที่แสดงออกมาจริงๆ
ใช้ข้อมูลที่หลากหลาย มีการเก็บข้อมูลระหว่างการปฏิบัติในทุกด้านทั้งโรงเรียน บ้าน และชุมชนอย่างต่อเนื่อง
เป็นการประเมินที่กระทำไปพร้อมๆกับการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
การประเมินโดยใช้ศูนย์การประเมิน (assessment centers)
เป็นกระบวนการตัดสินความรู้ ความสามารถ และทักษะต่างๆของผู้เรียนอย่างรอบด้าน โดยใช้ตัวอย่างงานหลายๆลักษณะที่สอดคล้องกับงานจริง สร้างเป็นสถานการณ์จาลอง หรือสิ่งเร้าที่ผู้เรียนตอบสนอง โดยเครื่องมือที่สามารถนามาใช้สาหรับการวัดในแต่ละศูนย์ประเมิน
การวัดและประเมินผลที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญและการวัดประเมินในชั้นเรียน
การวัดและประเมินผลผู้เรียนตามสภาพจริง
พัฒนาจุดเด่นของผู้เรียน
การประเมินด้านความคิด เน้นความคิดเชิงวิเคราะห์ สังเคราะห์
ยึดพฤติกรรมการแสดงออกของผู้เรียน
เน้นคุณภาพผลงานของผู้เรียนที่เกิดจากการบูรณาการความรู้ความสามารถหลาย ๆ ด้าน
การประเมินที่ดำเนินการไปพร้อม กับการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
ใช้ข้อมูลที่หลากหลายด้วยเครื่องมือที่หลากหลายและสอดคล้องกับวิธีการประเมิน
เน้นให้ผู้เรียนประเมินตนเอง และการมีส่วนร่วมในการประเมินของผู้เรียนผู้ปกครองและผู้สอน
วิธีการและเครื่องมือการวัดและประเมินผลที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
ศึกษาวัตถุประสงค์ของการประเมิน
กำหนดเครื่องมือในการประเมิน
การนำแนวคิดการประเมินผลผู้เรียนตามสภาพจริงไปใช้ในการจัดการเรียนการสอน
ผู้สอนต้องเรียนรู้เกี่ยวกับแนวทางการประเมินตามสภาพจริง
การแนะนำผู้เรียนจัดทาแฟ้มสะสมงานแฟ้มสะสมงานของผู้เรียนนอกจากจะแสดงพัฒนาการของผู้เรียนแล้ว ยังเป็นการสะท้อนการสอนของผู้สอน เพื่อจะน้าไปปรับปรุงการเรียนการสอนต่อไป
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
ระดับสถานศึกษา
ประเมินเพื่อตัดสินผลการเรียน
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
ผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน
การเรียนรู้ของผู้เรียนเป็นไปตามเป้าหมายหรือไม่
ปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรของสถานศึกษา
รายปี/รายภาค
ประกันคุณภาพการศึกษา
รายงานผลการจัดการศึกษาต่อคณะกรรมการสถานศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ผู้ปกครองและชุมชน
ระดับเขตพื้นที่การศึกษา
ใช้ข้อสอบส่วนกลางในการประเมินผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียน 5 ชั้นเรียน
ใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของเขตพื้นที่การศึกษา ตามภาระความรับผิดชอบ
ประเมินคุณภาพผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียนด้วยข้อสอบมาตรฐานที่จัดทำและดำเนินการโดยเขตพื้นที่การศึกษา
ระดับชาติ
สถานศึกษาต้องจัดให้ผู้เรียนป.3 ป.6 ( NT ) ม.3 ม.6 (O-Net ) เข้ารับการประเมิน
ผลจากการประเมินใช้เป็นข้อมูลในการเทียบเคียงคุณภาพการศึกษาในระดับต่าง ๆ เพื่อน้าไปใช้ในการวางแผนยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษา
เป็นข้อมูลสนับสนุนและการตัดสินใจการปรับปรุงในระดับนโยบายของประเทศ
ระดับชั้นเรียน
ผู้สอนดำเนินการเป็นปกติและสม่ำเสมอ
การซักถาม การสังเกต การตรวจการบ้าน
ประเมินเพื่อพัฒนา
ผู้เรียนมีพัฒนาการความก้าวหน้าในการเรียนรู้
ผู้สอนใช้ปรับปรุงการเรียนการสอนของตน
เกณฑ์การจบการศึกษา
มัธยมศึกษาตอนต้น
ผู้เรียนมีผลการประเมิน การอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน ในระดับผ่าน เกณฑ์การประเมินตามที่สถานศึกษากำหนด
ผู้เรียนมีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ในระดับผ่านเกณฑ์การประเมินตามที่สถานศึกษากำหนด
ผู้เรียนต้องได้หน่วยกิตตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า 7777หน่วยกิต โดยเป็นรายวิชาพื้นฐาน 6363หน่วยกิตและรายวิชาเพิ่มเติมไม่น้อยกว่า 1414หน่วยกิต
ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและมีผลการประเมินผ่านเกณฑ์การประเมินตามที่สถานศึกษากำหนด
ผู้เรียนเรียนรายวิชาพื้นฐานและเพิ่มเติมไม่เกิน 8181หน่วยกิต โดยเป็นรายวิชาพื้นฐาน 666 หน่วยกิต และรายวิชาเพิ่มเติมตามที่สถานศึกษากำหนด
ประถมศึกษา
ผู้เรียนมีผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนในระดับผ่านเกณฑ์การประเมินตามที่สถานศึกษากำหนด
ผู้เรียนมีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในระดับผ่านเกณฑ์การประเมินตามที่สถานศึกษากำหนด
ผู้เรียนต้องมีผลการประเมินรายวิชาพื้นฐาน ผ่านเกณฑ์การประเมินตามที่สถานศึกษากำหนด
ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและมีผลการประเมินผ่านเกณฑ์การประเมินตามที่สถานศึกษากำหนด
ผู้เรียนเรียนรายวิชาพื้นฐาน และรายวิชา/กิจกรรมเพิ่มเติมตามโครงสร้างเวลาเรียนที่หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานกำหนด
•
มัธยมศึกษาตอนปลาย
ผู้เรียนมีผลการประเมิน การอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน ในระดับผ่าน เกณฑ์การประเมินตามที่สถานศึกษากำหนด
ผู้เรียนมีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ในระดับผ่านเกณฑ์การประเมินตามที่สถานศึกษากำหนด
ผู้เรียนต้องได้หน่วยกิตตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า 7777หน่วยกิต โดยเป็นรายวิชาพื้นฐาน 41 หน่วยกิตและรายวิชาเพิ่มเติมไม่น้อยกว่า 36 หน่วยกิต
ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและมีผลการประเมินผ่านเกณฑ์การประเมินตามที่สถานศึกษากำหนด
ผู้เรียนเรียนรายวิชาพื้นฐานและเพิ่มเติมไม่น้อยกว่า 8181หน่วยกิต โดยเป็นรายวิชาพื้นฐาน 41 หน่วยกิต และรายวิชาเพิ่มเติมตามที่สถานศึกษากำหนด