Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่1 หลักการพยาบาลอนามัยชุมชน หลักการสาธารณะสุขมูลฐานและ …
บทที่1
หลักการพยาบาลอนามัยชุมชน
หลักการสาธารณะสุขมูลฐานและ
บทบาทหน้าที่ของพยาบาลอนามัย
ชุมชน
1.แนวคิดหลักการสาธารณสุขและการ
พยาบาลอนามัยชุมชน
1.แนวคิดหลักการสาธารณสุข
1.กิจกรรม 5 ประการ เพื่อความมีสุขภาพและความยืนยาวของชีวิต
1.การสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม
2.การควบคุมป้องกันโรคติดต่อ
3.การให้ความรู้ด้านสุขวิทยาส่วนบุคคล
4.การจัดองค์กรเกี่ยวกับบริการทางการแพทย์และการพยาบาลเพื่อการวินิจฉัยโรค
5.การพัฒนากลไกสังคมเพื่อให้ทุกคนมีมาตรฐานการครองชีพที่เหมาะสมเพียงพอที่จะดำรงไว้ซึ่งสุขภาพ
2.หลักการสาธารณสุขโดยทั่วไป
ให้การดูแลประชาชนทุกภาวะสุขภาพ คือ ภาวะปกติ ภาวะเสี่ยง และภาวะเจ็บป่วย
2.ให้การดูแลประชาชนทุกสถานที่
3.ให้การดูแลประชาชนในลักษณะองค์รวมของกาย จิต อารมณ์ สังคม และจิตวิญญาณ
4.ให้การดูแลประชาชนโดยไม่เลือกชั้นวรรณะ
5.ใช้กลวิธีต่าง ๆ ในการดแลสุขภาพประชาชน
โดยเฉพาะให้ประชาชนมีความรู้และสามารถดูแลสุขภาพตนเองได้ในระดับหนึ่ง
ประสานความร่วมมือทางด้านสังคมเพื่อพัฒนาสุขภาพของประชาชน
3.หลักการในการจัดบริการสาธารณสุข
มีความเพียงพอ (Availibility) หมายถึง การมีสถานบริการ วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ บุคลากร เพียงพอต่อการให้บริการทุกพื่นที่
เข้าถึงได้ (Accessibility) หมายถึง ประชาชนทุกคนสามารถใช้บริการที่จดให้ได้อยางสะดวกและราคาไม่สูงเกินไป
3.มีบริการอย่างต่อเนื่อง (Continuity) หมายถึง บรการที่จัดขึ้นต้องมีอย่างสม่ำเสมอ มีการเชื่อมโยงบริการ
มีคุณภาพเป็นที่ยอมรับ (Acceptability) หมายถึง บริการสาธารณสุขต้องมีคุณภาพได้รับการยอมรับจากผู้ใช้บริการ
มีประสิทธภาพ (Efficiency) หมายถึง บริการที่
จัดให้มีประสิทธิภาพ ได้ผลดี คุ้มกับค่าใช้จ่าย
มีความเสมอภาค (Equity) หมายถึง บริการ
สาธารณสุขที่จัดให้ประชาชนต้องเท่าเทียม
4.ระดับการให้บริการสาธารณสุข(Level of Care)
การดูแลสุขภาพด้วยตนเองในครอบครัว (Self Care Level) หมายถึง การพัฒนาศักยภาพให้ประชาชนสามารถดูแลสุขภาพด้วยตนเอง
2.การบริการสาธารณสุขมูลฐาน (Primary Health Care Level) หมายถึง การบริการสาธารณสุข ที่ดำเนินการโดยประชาชนด้วยกันเองและสามารถจัดทำได้ในระดับชุมชน
การจัดบริการสาธารณสุขระดับต้น (Primary Care Level) เป็นการจัดบริการด้านการแพทย์ และสาธารณสุขที่ดำเนินการโดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุขประเภทต่าง ๆ และแพทย์ทั่วไป
การจัดบริการสาธารณสุขระดับกลาง (Secondary Care Level) เป็นการจัดบริการที่ดำเนินการโดยแพทย์ที่มีความรู้ความชำนาญสูงปานกลางประกอบด้วยหน่วยบริการทั่วไปและแพทย์เฉพาะ ทางสาขาหลัก
การจัดบริการสาธารณสุขระดับสูง (Tertiary Care Level) เป็นการจัดบริการด้านการแพทย์และ สาธารณสุขปฏิบัติโดยผู้เชี่ยวชาญพิเศษ
แนวคิดหลักการพยาบาลอนามัยชุมชน (Community Health Nursing)
มิติของการให้บริการของพยาบาลอนามัยชุมชน
ด้านการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการให้บริการ/จัดกิจกรรมที่สรัางและกระตุ้นให้ประชาชนตระหนัก ถึงความสำคัญในการดูแลสุขภาพและการจัดสิ่งแวดล้อม
ด้านการป้องกันโรค เป็นการบริการพยาบาลเกี่ยวกับการป้องกันควบคุมโรคติดต่อทั้งชนิดรุนแรง โรคติดต่อที่ป้องกันได้และโรคไม่ติดต่อ
การให้บริการตรวจรักษาโรคเบื้องต้นและดูแลสุขภาพต่อเนื่อง เป็นการให้บริการตรวจวินิจฉัยและรักษาโรค โดยเฉพาะโรคทั่วไปที่พบได้บ่อยในชุมชน เช่น โรคหวัด ปวดท้อง ปวดตึงกล้ามเนื้อ ปวดศรีษะ
การให้บริการฟื้นฟูสุขภาพ เป็นบริการที่ช่วยให้ผู้ใช้บริการฟื้นฟูสภาพร่างกายและจิตใจกลับสู่สภาพปกติหรือใกล้เคียงปกติมากที่สุดหรือเกิดความพิการน้อยที่สุดเพื่อให้สามารถดำรงชีวิตได้อย่างปกติสุข มากที่สุด
2.ระบบบริการสาธารณสุขของประเทศไทยในแผนพัฒนาสุขภาพฉบับที่ 12 และการพัฒนาระบบบริการสาธารณสุข Thailand 4.0
การพัฒนาระบบบริการสาธารณสุขสู่ยุค
Thailand 4.0
เทคโนโลยีเป็นกลไกขับเคลื่อน
Health 4.0
Social Webs and Network เป็นเทคโนโลยีสารสนเทศที่ออกแบบมาให้ผู้คนสามารถเชื่อมโยง และติดต่อกันได้
Mobile Application เป็นการใช้อุปกรณ์พกพาติดตัวในการติดต่อสื่อสาร ค้นหาข้อมูล รับส่งภาพ เสียง ภาพเคลื่อนไหว ให้ถึงตัวบุคคลในเวลาอันรวดเร็ว
Internet of Things ทุกสิ่งที่เชื่อมโยงกับอินเทอร์เน็ตเป็นปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นจากการฝัง อุปกรณ์สือสารไว้ในสิ่งของต่างๆ
Cloud computing เป็นระบบที่การจัดเก็บข้อมูลและการประมวลผลข้อมูลเกิดขึ้นในเครื่อง คอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ซึ่งอยู่ต่างสถานที่หรืออาจอยู่ในต่างประเทศ แต่รับส่งข้อมูลกันผ่านระบบอินเทอร์เน็ต
Big Data and Health Analytics เทคโนโลยีการจัดเก็บข้อมูลที่ก้าวหน้าขึ้นทำให้เราสามารถเก็บ ข้อมูลจำนวนมหาศาลไว้ได้ทั้งหมดโดยมีค่าใช้จ่ายไม่มาก
Robotics วิทยาการหุ่นยนต์มี่การพัฒนามาจนถึงขั้นใช้
งานจริงเพื่อช่วยดูแลสุขภาพได้หลายดานในโรงพยาบาล
Artificial Intelligences ปัญญาประดิษฐ์เป็นเทคโนโลยีที่สามารถทำให้เกิดระบบอัตโนมัติที่ช่วย ดูแลสุขภาพประชาชนได้โดยพัฒนาให้อยู่ในรปแบบ mobile application
ผลลัพธ์ที่ควรเกิดขึ้นใน Health
4.0
กระทรวงสาธารณสุขจะวิเคราะห์ข้อมูลได้ละเอียดมากขึ้น สามารถพยากรณ์แนวโน้มสภาวะสุขภาพของประชาชนกลุ่มวัยต่าง ๆ
ระบบเทคโนโลยีจะช่วยให้การเก็บรวบรวมข้อูมลและการวิเคราะห์ข้อมูลในระบบสุขภาพดีขึ้น
ประชาชนมีข้อมูลสุขภาพส่วนบุคคลทสามารถนำไปใช้
ประโยชน์ได้ ทำให้การดูแลรักษามีประสิทธิภาพมากขึ้น
ประชาชนมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพตนเองมากขึ้น เป็นประชาชนที่ใส่ใจดูแลสุขภาพด้วยความ กระตือรือร้น (Active Healthy Citizen)
ประชาชนจะได้รับบริการจากสถานพยาบาลที่สะดวก รวดเร็วและมีคุณภาพสูงขึ้น มีการจัดระบบให้การรอคอยใช้เวลาน้อยลง
แพทย์ พยาบาล ทันตแพทย์และผู้ที่มีวิชาชีพด้านการดูแลรกษาจะทำงานแบบเครือข่ายวิชาชีพมากขึ้น
ระบบบริการสาธารณสุข ของประเทศไทย
ในแผนพัฒนาสุขภาพฉบับที่ 12
สาเหตุการป่วยและตายในสังคม
ไทย
โรคที่เกี่ยวของกับการพัฒนาสู่
ความทันสมัยทเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิต
และการบริโภค ทำให้้เกิดโรค
เรื้อรัง
เช่น เบาหวาน ความดันโลหิตสูง
มะเร็ง อุบัติเหตุ เป็นต้น
โรคที่เกี่ยวกับความยากจน
เช่น ภาวะโภชนาการพร่อง โรคติดเชื้อทางเดินอาหาร อาหารเป็นพิษ โรคติดเชื้อ ทางเดินหายใจ
โรคที่เกิดและแพร่ระบาดในยุคโลกาภิวัฒน์ที่มีการเคลื่อนย้ายของคน แรงงาน สินค้าและบริการ ทุนและขอมูลข่าวสารอย่างรวดเร็ว
เช่น ไข้หวัดนก ซารส โรควัวบ้า
โรคโควิด- 19
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ
ยุทธศาสตร์ที่ 2 สร้างความเป็นธรรม
ลดความเหลื่อมล้ำในระบบสุขภาพ
ยุทธศาสตร์ที่ 1 เร่งการเสริมสร้าง
สุขภาพคนไทยเชิงรุก
ยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาและสร้างกลไกเพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพการบริหารจัดการกำลังคนด้านสุขภาพ
ยุทธศาสตร์ที่ 4 พัฒนาและสร้างความเข้มแข็งในการอภิบาลระบบสุขภาพ
สถานการณ์และปัจจัยที่มีผลต่อ
การพัฒนาสุขภาพ
ประเทศไทยมีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุอย่างรวดเร็ว รูปแบบโรค เปลี่ยนไปจากโรคติดเชื้อไปเป็นโรค ไม่ติดเชื้อเรื้อรัง ยังมีปัญหาสุขภาพจากอุบัติเหตุ ภัยพิบัติและภัยสุขภาพ รวมทั้งโรคจากการประกอบอาชีพและโรคจากสิ่งแวดล้อมสูงขึ้น ความรอบรู้ด้านสุขภาพ (Health Literacy)ของประชาชนยังไม่เพียงพอในการป้องกันปัจจัยเสี่ยงตาง ๆ ด้านสขภาพ
3.หลักการสาธารณสุขมูลฐาน
องค์ประกอบของการสาธารณสุข
มูลฐาน
3.การสุขาภิบาลแะการจัดหาน้ำสะอาด
4.การอนามัยแม่และเด็กและการวางแผนครอบครัว
2.การโภชนาการ
5.การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
1.การศึกษา
6.การป้องกันควบคุมโรคระบาดในท้องถิ่น
8.การจัดหาที่จำเป็นไว้ใช้ในหมู่บ้าน
11.การป้องกันและควบคุมโรคเอดส์
7.การรักษาพยาบาล
9.การทันตสาธารณสุข
10.การส่งเสริมสุขภาพจิต
12.การป้องกันอุบัติเหตุและโรคไม่ติดต่อ
13.การคุ้มครองผู้บริโภคด้านสาธารณสุข
14.การป้องกันและแก้ไขมลภาวะและสิ่งเเวดล้อม
3.กลวิธีหลักในการดำเนินงาน
สาธารณสุขมูลฐาน
การผสมผสานงานกับผู้อื่น
(Intersect oral Collaboration)
การใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม
(Appropriate Technology)
การบริการสาธารณสุขของรัฐต้องสนับสนุนงานสาธารณสุขมูลฐาน(Reoriented Basic Health Service)
การมีส่วนร่วมขบวนการองชุมชน(People Participation หรอCommunity Involvement)
ความสำคัญของงานสาธารณสุข มูลฐานต่อการพัฒนาสุขภาพของประชาชน
งานสาธารณสุขมูลฐานมีความสำคัญต่อการพัฒนาสุขภาพของประชาชน โดยเฉพาะประชาชนในชนบท ซึ่งได้รับการบริการสาธารณสุขไม่ทั่วถึง เนื่องจากเป็นกลวิธีที่ส่งเสริมให้ประชาชนในชุมชน ได้ตระหนักในการ ดูแลสุขภาพของตนเองและชุมชน โดยความร่วมมือของคนในชุมชนเพื่อการพัฒนาสุขภาพและแก้ปัญหาสุขภาพของ ชุมชนเป็นการนำบริการสาธารณสุขแบบผสมผสานให้ไปสู่ประชาชน ในระดับหมู่บ้าน ตำบลได้ครอบคลุมมากขึ้น
4.บทบาทหน้าที่ของพยาบาลอนามัยชุมชนและลักษณะงานพยาบาลอนามัยชุมชน
บทบาทหน้าที่ของพยาบาล
อนามัยชุมชนโดยทั่วไป
9.เป็นผู้ประสานงาน (Co-ordinator)
เป็นผู้นำ (Leader)
เป็นผู้ให้ความร่วมมือ
(Collaborator)
เป็นผู้บริการด้านสุขภาพ (Health
care provider)
เป็นผู้ให้ความรู้ด้านสุขภาพ (Health
educator)
เป็นผู้ให้คำปรึกษา (Counselor)
เป็นผู้วิจัย (Researcher)
เป็นผู้บริหารจัดการ (Manager)
เป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลง
(Change agent)
3.เป็นผู้พิทักษ์ผลประโยชน์ (Advocator)
ลักษณะงานพยาบาลอนามัย
ชุมชน
คุณลักษณะที่เหมาะสมของพยาบาลที่ปฏิบัติงานอนามัยชุมชนได้ดี
2.ทักษะด้านการสื่อสาร
3.ทักษะการเป็นผู้นำ
1.ด้านความรู้
4.ศึกษาหาความรู้ต่อเนือง
แนวทางปฏิบัติงานด้านการ
พยาบาลอนามัยชุมชน
ประชาชนเป็นคนสำคัญที่สุดใน
การตัดสินใจแก้ปัญหาของตนเอง
5.การดูแลต่อเนื่อง
พัฒนาศักยภาพในการช่วย
ตนเอง ครอบครัวและชุมชนได้
ให้ความสำคัญปัญหาที่มีผลกระ
ทบต่อประชาชนส่วนใหญ่ก่อน
ดูแลทุกคนในชุมชน โดยเฉพาะ
อย่างยิ่งกลุ่มเสี่ยง
ใช้กระบวนการแก้ปัญหาหรือ
กระบวนการพยาบาล
คุณลักษณะของพยาบาลอนามัย
ชุมชน
คุณลักษณะของพยาบาลอนามัยชุมชนที่สำคัญ คือ การเป็นนักสร้างเสริมสุขภาพ ซึ่งต้องสร้างจัดแข่ง คือ การกระตุ้นให้มีการมีส่วนร่วมของชุมชน พยาบาลอนามัยชุมชนที่ปฏิบัติงานในหน่วยงานสาธารณสุขทุกระดับ มีความต้องการพัฒนาความรู้และทักษะเพื่อการปฏิบัติบทบาทเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งด้านการวิจัยศักยภาพเดิม ของพยาบาลอนามัยชุมชนไม่สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงของระบบบริการสุขภาพ
ลักษณะงานของพยาบาลอนามัย
ชุมชน
4.งานที่มีความต่อเนื่อง
5.งานที่มีความหลากหลาย
3.งานที่มีความเอกสิทธิ์
งานที่เชื่อมโยงปฏิสัมพันธ์ของปัจจัยต่างๆต่อสุขภาพ
2.งานเน้นตามประชากรที่ให้บริการ
7.งานด้านระสานความร่วมมือ
1.งานมุ่งสู่สุขภาพ
8.งานที่มีความรับชอบต่อสังคม
นางสาวกมลชนก ภิโสรมย์ รหัส 621001005