Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ปัจจัยที่ส่งผลต่อภาวะสุขภาพของมารดาทารกในระยะตั้งครรภ์ ระยะคลอดและระยะหลัง…
ปัจจัยที่ส่งผลต่อภาวะสุขภาพของมารดาทารกในระยะตั้งครรภ์ ระยะคลอดและระยะหลังคลอด
ปัจจัยส่วนบุคคลของมารดา
อายุ
เป็นตัวกำหนดขอบเขตของพฟติกรรมการปฏิบัติตน เพื่อคงไว้ซึ่งภาวะสุขภาพ
ในวัยผู้ใหญ่จะมีพฤติกรรมการปฏิบัติตนเพื่อคงไว้ซึ่งภาวะสุขภาพที่ดีกว่าสตรีตั้งครรภ์ที่เป็นวัยรุ่นเนื่องจากมีวุฒิภาวะมากกว่า
น้ำหนักส่วนสูง
น้ำหนักตัวน้อยอาจส่งผลให้ทารกในครรภ์มีน้ำหนักน้อย
และเกิดภาวะเจริญเติบโตช้าในครรภ์
น้ำหนักมากเกินไป (มากกว่า 80 กิโลกรัม)มีโอกาสเสี่ยงต่อการคลอดยากหรือการคลอดติดขัด
ส่วนสูงต่ำกว่า 145 เซนดิเมตร มีโอกาสเสี่ยงต่อการคลอดดิดขัด
ระดับการศึกษา
บุคคลที่มีการศึกษาสูงจะตระหนักถึงปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับปัญหามีความเข้าใจในสถานการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นได้ดี
รายได้หรือฐานะทางเศรษฐกิจ
รายได้สูงจะเอื้ออำนวยให้มีพฤติกรรมการปฏิบัติตนโดยได้รับอาหารที่เพียงพอตลอดจนเข้าถึงบริการได้อย่างเหมาะสม
สถานะภาพสมรส
สตรีตั้งครรภ์ที่เป็นโสด หม้าย หย่า หรือแยกกันอยู่กับสามี
มักขาดคนดูแลและให้กำลังใจแลสตรีดั้งครรภ์ที่มีสามีจะได้รับการช่วยเหลือจากสามี
อาชีพ
ต้องไม่เป็นงานที่ก่อให้เกิดความเหนื่อยลำมากเกินไป
หรืองานที่ต้องทำต่อเนื่องกันเป็นเวลานาน หรืองานที่ต้องส้มผัสกับสารเคมีหรือสารพิษ
ลำดับที่ของการตั้งครรภ์
สตรีตั้งครรภ์ที่เคยผ่านประสบการณ์การตั้งครรภ์มาแล้วจะสามารถควบคุมอารมณ์และสถานการณ์ได้ดี สามารถดูแลตนเองในระยะตั้งครรภ์ได้ดีขึ้น
สตรีตั้งครรภ์แรกที่ยังไม่มีประสบการณ์เกี่ยวกับการตั้งครรภ์และการคลอดอาจมีความสนใจคันคว้าหาความรู้เรื่องการปฏิบัติตนขณะตั้งครรภ์
จำนวนครั้งของการคลอด
การคลอดครั้งแรกจะมีอัตราเสี่ยงอันตราย ก่อให้เกิดภาวะแทรกซ้อนมากกว่าการคลอดครั้งที่ 2-3 แต่ถ้ามีการคลอดมากกว่า 4 ครั้ง ก็จะทำให้อัตราเสี่ยงสุงขึ้นอีก
ระยะห่างของการตั้งครรภ์
น้อยกว่า 2 ปี จะมีอัตราเสี่ยงสูงเป็น 3 เท่า ของการตั้งครรภ์ห่างกัน 3 ปีเนื่องจากการตั้งครรภ์และคลอดที่ถี่เกินไปจะทำให้สุขภาพของมารดาหลังคลอดรวมถึงสตรีดั้งครรภ์เสื่อมโทรมลง
ภาระสุขภาพสตรีตั้งครรภ์
มีโรคประจำตัวเรื้อรั่ง เช่น หัวใจ เบาหวาน ความด้นโลหิตสูง หรือโรคทางพันธุกรรม เช่นธาลัสซีเมีย ฮีโมโกลบินผิดปกติ เป็นสาเหตุที่ทำให้ทารกแรกเกิดมีความพิการแต่กำเนิด
ปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม
มลพิษ
Sulferdioxide Carbon monoxide ยาฆ่าแมลง สารเคมีที่เหลือจากโรงงานอุตสาหกรรม สารปรอทจะมีฤทธิ์ทำลายพัฒนาการทางสมองของทารกในครรภ์โดยจะผ่านไปยังรก
สภาพครอบครัว
สภาพครอบครัวที่แตกแยก หรือการตั้งครรภ์ที่ไม่พึ่งประสงค์ จะส่งผลให้สตรีตั้งครรภ์เกิดความเครียดทำให้ความสามารถในการดูแลตนเองลดลง
ระบบบริการทางการแพทย์และสาธารณสุข
มีผลต่อการดูแลสุขภาพด้านอนามัยแม่และเด็ก
การเมืองการปกครอง
เป็นการส่งเสริมการดูแลมารตาและทารกให้มีคุณภาพมากยิ่งขึ้น
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการของทารกในครรภ์
Teratogen
สิ่งที่ทำให้เกิดความพิการหรือรูปวิปริตในทารก
รังสี
มีอันตรายต่อทารกในครรภ์ เช่น เกิดมะเร็งในเม็ดเลือดขาว
การใช้ยา
ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในระบบการไหลเวียนของมารดา
มีผลโดยตรงต่อกล้ามเนื้อมดลูกและการทำงานของมดลูก
มีผลต่อพัฒนาการของทารก จึงทำให้เกิดความพิการได้
สิ่งแวดล้อมเป็นพิษ สภาพครอบครัว สภาพสังคม
ปัจจัยด้านความเชื่อ ค่านิยม
และพฤติกรรมของมารดา
ด้านความเชื่อและค่านิยม
ความเชื่อในระยะตั้งครรภ์
การดื่มน้ำมะพร้าวอ่อน จะทำให้ทารกมีผิวพรรณดี
ห้ามนอนหงาย เพราะรกจะติดหลังทำให้คลอดไม่ได้
ห้ามนั่งขวางบันได เพราะจะทำให้คลอดยาก
ห้ามไปงานศพ เชื่อว่าจะทำให้วิญญาณร้ายติดตามมา
ความเชื่อในระยะคลอด
ใช้ผิวไม่รวก (ไม่ไผ่) ตัดสายสะดือ เป็นสาเหตุของการติดเชื้อในทารกแรกเกิด
ความเชื่อในระยะหลังคลอด
การอยู่ไฟหลังคลอดจะให้ความอบอุ่นทางด้านจิตใจ
ตลอดจนบรรเทาความเจ็บปวดลงได้
การฟื้นฟูสภาพหลังคลอดของคนโบราณมีหลายวิธี
เช่น นั่งถ่าน เข้ากระโจม นาบ หม้อเกลือ
อาหารหลังคลอด คนโบราณแนะนำให้งดอาหารแสลง รสจัด
ความเชื่อในการดูแลทารกแรกเกิด
ทากรกคลอดแล้วหมอตำแยจะจับทารกคว่ำหน้า
ใช้มือควักมุกออกจากปาก เพื่อป้องกันทารกสำลักน้ำคร่ำ
คนโบราณนิยมเลี้ยงทารกด้วยนมมารดา ซึ่งเป็นสิ่งที่ดีมาก
ด้านพฤติกรรม
การดื่มสุรา
ทารกที่คลอดออกมามีโอกาสที่จ:เกิดความผิดปติบางอย่างหรือมีครบทุกอย่าง
สมองเล็กกว่าปกติ
การเจริญเติบโตของแขนและขาผิดปกติ
การใช้สารเสพติด
พบมากขึ้นในสตรีที่มีอายุน้อยมีปัญหา
การสูบบุหี่
มีผลทำให้เส้นเลือดมีการหดตัวทำให้เลือดที่ผ่านรกไปยังทารกจะน้องลงกว่าปกติ
การใช้ยา
ยาที่อาจทำให้ทารกในครรภ์พิการ เช่นสารปรอท (Organic mercury)
แอสไพริน (Aspirin)อาจทำให้คลอดเกินกำหนด
นางสาวชมพูนุช พลอยเกตุ เลขที่ 14 รหัสนักศึกษา62126301016