Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ปัจจัยที่ส่งผลต่อภาวะสุขภาพของมารดาทารกในระยะตั้งครรภ์ ระยะคลอด…
ปัจจัยที่ส่งผลต่อภาวะสุขภาพของมารดาทารกในระยะตั้งครรภ์ ระยะคลอด และระยะหลัง
ปัจจัยส่วนบุคคลของมารดา
สถานภาพสมรส
มีความสำคัญในแง่ของการได้รับการสนับสนุนให้มีพฤติกรรมปฏิบัติเพื่อคงไว้ซึ่งภาวะสุขภาพ
อาชีพ
งานที่ทำต้องไม่เป็นงานที่ก่อให้เกิดความเหนื่อยล้ามากเกินไป หรืองานที่ต้องทำต่อเนื่องกันเป็นเวลานาน หรืองานที่ต้องสัมผัสกับสารเคมีหรือสารพิษ
ระดับการศึกษา
บุคคลที่มีการศึกษาสูงจะตระหนักถึงปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับปัญหา มีความเข้าใจใน
สถานการณ์ต่างๆ
ลำดับที่ของการตั้งครรภ์
สตรีตั้งครรภ์ที่เคยผ่านประสบการณ์การตั้งครรภ์มาแล้ว จะสามารถควบคุมอารมณ์และสถานการณ์ได้ด
รายได้ หรือฐานะทางเศรษฐกิจ
บุคคลที่มีการศึกษาสูงจะตระหนักถึงปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับปัญหา มีความเข้าใจใน
สถานการณ์ต่างๆ
จำนวนครั้งของการคลอด
การคลอดครั้งแรกจะมีอัตราเสี่ยงอันตราย ก่อให้เกิดภาวะแทรกซ้อนมากกว่าการคลอดครั้งที่ 2-3 แต่ถ้ามีการคลอดมากกว่า 4 ครั้ง
น้ำหนักตัว และส่วนสูง
ทารกในครรภ์มีน้ำหนักน้อย และเกิดภาวะเจริญเติบโตช้าในครรภ์ ส่วนสตรีตั้งครรภ์ที่มีน้ำหนักมากเกินไป (มากกว่า 80 กิโลกรัม) มีโอกาสเสี่ยงต่อการคลอดยาก หรือการคลอดติดขัด
ระยะห่างของการตั้งครรภ์
ถ้าระยะห่างระหว่างการตั้งครรภ์น้อยกว่า 2 ปี จะมีอัตราเสี่ยงสูงเป็น 3 เท่า ของการตั้งครรภ์ห่างกัน 3 ปี เนื่องจากการตั้งครรภ์และคลอดที่ถี่เกินไป จะทำให้สุขภาพของมารดาหลังคลอดรวมถึงสตรีตั้งครรภ์เสื่อมโทรมลง
ภาวะสุขภาพสตรีตั้งครรภ์
อายุ
(มากกว่า 35 ปี) ทำให้มีโอกาสเสี่ยงต่ออันตรายหรือความผิดปกติได้มากกว่า จึงทำให้มีการตื่นตัวสูง และมีแรงจูงในการปฏิบัติตนเพื่อคงไว้ซึ่งภาวะสุขภาพที่ดี
การตั้งครรภ์ที่เกิดกับสตรีตั้งครรภ์ที่ยังไม่บรรลุวุฒิภาวะ หรือมีอายุน้อย (น้อยกว่า 16 ปี) ย่อมเกิดปัญหาได้มากมาย ทั้งด้านการเจริญเติบโตของร่างกายยังไม่สมบูรณ์เต็มท
ความเชื่อ ค่านิยม และพฤติกรรมของมารดา
ปัจจัยด้านความเชื่อ ค่านิยม
ความเชื่อในระยะตั้งครรภ์
ความเชื่อในระยะคลอด
ความเชื่อในระยะหลังคลอด
ความเชื่อในการดูแลทารกแรกเกิด
พฤติกรรมของสตรีตั้งครรภ์
การดื่มสุรา
น้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ปกติ
ปากแหว่ง เพดานโหว่ ดวงตาและกรามมีขนาดเล็กกว่าปกติ
สมองเล็กกว่าปกติ
หัวใจผิดปกติโดยกำเนิด
การเจริญเติบโตของแขนและขาผิดปกติ
ความสามารถในการดูดด้อยกว่าปกติ
การสูบบุหรี่
การเจริญเติบโตของทารกในครรภ์ช้า
อัตราการแท้งบุตร การคลอดก่อนกำหนด และทารกตายระหว่างคลอดสูงขึ้น
การใช้สารเสพติด
การใช้ยา
ปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม
มลพิษ
สตรีตั้งครรภ์ที่อยู่ในสิ่งแวดล้อมที่เป็นพิษ เช่น Sulferdioxide Carbon monoxide ยาฆ่าแมลง สารเคมีที่เหลือจากโรงงานอุตสาหกรรม สารปรอท จะมีฤทธิ์ทำลายพัฒนาการทางสมองของทารกในครรภ์โดยจะผ่านไปยังรก
การระบาดของโรคโควิด-19
โรคโควิด-19 คือ โรคที่เกิดจากการติดเชื้อไวรัส Novel coronavirus (SARS-CoV-2) ทำให้มีอาการหลักคือ ไข้ ไอ หายใจติดขัด หายใจเหนื่อย เจ็บคอ มีน้ามูก นิยามผู้ป่วย ผู้ป่วยเข้าเกณฑ์สอบสวนโรค (Person under investigation, PUI) คือ ผู้ป่วยมีอาการและอาการแสดง
การดูแลสตรีตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อโรคโควิด-19
บุคลากรที่จะดูแลผู้ป่วยจะต้องใส่ชุดและอุปกรณ์ป้องกันเต็มที่ (Personal
Protection Equipment, PPE) ประกอบด้วย เสื้อกาวน์ หน้ากาก N95 แว่นตาและถุงมือ
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ ควรตรวจ CBC, arterial blood gas การทางานของตับ ไตและ cardiac enzymesการรักษาประกอบด้วย การให้สารน้ำแก้ไขภาวะขาดสมดุลของเกลือแร่ ให้ออกซิเจนการให้ยาต้านไวรัสใช้ในรายที่มีอาการปานกลางหรือรุนแรง ช่วงแรกที่มีรายงาน คือLopinavir/Ritonavir รับประทาน ต่อมามีรายงานพบว่า ไม่ได้ประโยชน์เมื่อเทียบกับการรักษาตามอาการ
การดูแลที่คลินิกฝากครรภ์ สตรีตั้งครรภ์ที่ไม่มีอาการหรืออาการน้อย ควรเลื่อนนัดเพื่อมาฝากครรภ์ ตรวจคลื่นเสียงความถี่สูง หรือตรวจคัดกรองเบาหวานไปจนกว่าจะพ้นช่วงกาหนดเวลากักตัว(isolation) โดยให้อยู่แต่ภายในที่พักอาศัย เป็นเวลาอย่างน้อย 14 วัน หรือจนกว่าจะตรวจไม่พบเชื้อ
ัปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการของทารกในครรภ์
รังสี
การได้รับรังสีอาจเกิดอันตรายต่อทารกในครรภ์ไ
การใช้ยา
ยาที่หญิงตั้งครรภ์ได้รับจะมีผลต่อทารกในครรภ์จะมีผลต่อทารกทั้งสิ้น เพราะทารกมีความไวต่อ
การทำให้เกิดความพิการ
สิ่งแวดล้อมเป็นพิษ
สิ่งแวดล้อมที่ทำให้เกิดสารพิษ เช่น Sulferdioxide Carbonmonoxide พิษจากยากำจัดวัชพืชศัตรูพืช ยาฆ่าแมลง รวมทั้งสารเคมีต่าง ๆ ที่เหลือจากโรงงานอุตสาหกรรม สารปรอท สารเหล่านี้เมื่อผ่านเข้าไปในหญิงมีครรภ์จะผ่านไปยังรก
สภาพครอบครัว
การที่หญิงตั้งครรภ์ได้อยู่ในสภาพครอบครัวที่มีสัมพันธภาพอบอุ่นจะส่งสุขภาพจิตที่แข็งแรงและ
สมบูรณ์ ก็จะส่งผลต่อมารดาและพัฒนาการทางด้านอารมณ์ของทารกให้ดีขึ้นได้
สภาพสังคม
หญิงตั้งครรภ์ที่อยู่ในสภาพสังคมที่ดีและเด็กที่เจริญเติบโตอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่ดีก็จะส่งผลให้มารดาและทารกมีสุขภาพจิตที่ดียิ่งขึ้นแต่ในทางตรงกันข้ามเด็กที่เกิดมาจากสิ่งแวดล้อมที่ไม่ดีมักจะทำให้เด็กเหล่านี้อาจเป็นต้นเหตุของปัญหาสังคม