Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การใช้รูบริกส์ในการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ - Coggle Diagram
การใช้รูบริกส์ในการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
ความหมายของรูบริกส์
เป็นเกณฑ์หรือมาตรฐานที่ออกแบบ
อย่างสอดคล้องกับเป้าหมายการเรียนรู้เป็นแนวทางในการให้คะแนนคุณภาพการปฏิบัติงานของ
องค์ประกอบของรูบริกส์
ระดับความสามารถ/ระดับคุณภาพ
การบรรยายคุณภาพของแต่ละระดับ
เกณฑ์
การแบ่งประเภทของรูบริกส์
Holistic rubrics และ Analytic rubrics
Holistic rubrics
ข้อดี
ใช้กับการประเมินงานต่าง ๆ ได้หลายงาน
ประหยัดเวลาในการประเมิน
ในการให้คะแนนได้อย่างคงเส้นคงวา
ข้อเสีย
ไม่ได้ให้ข้อมูลย้อนกลับที่เฉพาะเจาะจงกับผู้เรียน
ขาดรายละเอียดที่เฉพาะเจาะจง
สร้างขึ้นสำหรับให้คะแนนจากการปฏิบัติงานของผู้เรียนในภาพรวมเอาทุกประเด็นที่ประเมินมาเขียนอธิบายไปพร้อม ๆ กัน
สถานการณ์ที่ใช้
ใช้ในกรณีต้องการภาพรวมความสำเร็จอย่างรวดเร็ว
Analytic rubrics
ข้อเสีย
มีประโยชน์ต่อการให้ข้อมูลย้อนกลับแก่ผู้เรียน
ใช้เวลานานทั้งในการสร้างและการให้คะแนน
แยกแยะตามประเด็นที่จะประเมิน ซึ่งโดยทั่วไป
นิยมกำหนดจำนวนระดับคุณภาพเท่ากันทุกประเด็นที่จะประเมิน
ข้อดี
สามารถถ่วงน้ำหนักให้แต่ละเกณฑ์
ให้ผู้เรียนสักระยะหนึ่งปรับปรุงงาน
จะช่วยให้ผู้เรียนได้เห็นความก้าวหน้าในการปฏิบัติงาน
มีประโยชน์ในการให้ข้อมูลย้อนกลับแก่ผู้เรียน
สถานการณ์ที่ใช้
ต้องการชี้ให้เห็นจุดแข็งและจุดอ่อน
ต้องการให้ข้อมูลย้อนกลับแก่ผู้เรียน
ต้องการประเมินทักษะ
General rubrics และ Task specific rubrics
General rubrics
สร้างขึ้นโดยใช้เกณฑ์หรือประเด็นที่จะประเมินกว้าง ๆ
ข้อดี
อธิบายเหตุผลอย่างชัดเจนพร้อมรายละเอียด
สามารถนำไปใช้ประเมินได้หลายงาน
ข้อเสีย
ความเชื่อมั่นในการประเมินต่ำกว่า
สร้างยากสร้างยากกว่าTask specific rubrics
สถานการณ์ที่ใช้
เหมาะที่จะใช้ในกรณีที่ต้องการ
เน้นการประเมินความรู้
Task specific rubrics
ข้อดี
รายละเอียดที่ชัดเจนตรงกับงานที่ประเมิน
ใช้เวลาน้อยในการทำให้มีความเชื่อมั่น
มีเป้าหมายเพื่อประเมินเฉพาะงานใดงานหนึ่งที่มอบหมายให้ผู้เรียน
ข้อเสีย
ไม่สามารถนำมาชี้แจงเพื่อทำความเข้าใจ
ร่วมกันให้กับผู้เรียนได้
จะต้องเขียนใหม่ทุกครั้งในแต่ละงานทำให้ยุ่งยากและเสียเวลา
กรณีเปิดกว้างในการตอบอาจทำให้
การประเมินนั้นได้ผลการประเมินไม่ดีนัก
สถานการณ์ที่ใช้
เหมาะที่จะใช้ในกรณีที่ต้องการ
เน้นการประเมินด้านความรู้
แนวทางและขั้นตอน
กำหนดเกณฑ์
กำหนดจำนวนระดับคุณภาพ
กำหนดประเภทของ Rubrics ที่ใช้ประเมินงาน
เขียนบรรยายคุณภาพของแต่ละระดับ
กำหนดงานที่ต้องการประเมิน
ทดลองและฝึกใช้ Rubrics
จัดทำเป็นเครื่องมือการให้คะแนนที่สมบูรณ์