Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลจิตเวชเด็ก โรคคอนดัค (Conduct Disorders: CD) - Coggle Diagram
การพยาบาลจิตเวชเด็ก
โรคคอนดัค (Conduct Disorders: CD)
ความหมาย
โรคคอนดัค(Conduct Disorders: CD)บางคร้ังเรียกโรคเกเรหรือพฤติกรรมคล้าย อันธพาล เป็นโรคทางจิตเวชเด็กและวัยรุ่นที่แสดงออกถึงปัญหาทางด้านอารมณ์และพฤติกรรม
ลักษณะสำคัญ
จะมีพฤติกรรมท่ีละเมิดสิทธิผู้อื่น หรือไม่ปฏิบัติตามกฎระเบียบของ สังคมอย่างต่อเนื่อง โดยทำซ้าๆ และทำมาเป็นเวลานาน
มี พฤติกรรมรุนแรง ก้าวร้าว พฤติกรรมในเชิงทำลาย ซึ่งอาการเหล่านี้เป็นอาการเริ่มแรกที่จะนาสู่การ เจ็บป่วยทางจิตเวช
2 ชนิด
adolescent-onset
คือ มีอาการหลังอายุ 10 ป
childhood-onset
คือ เร่ิมมีอาการก่อนอายุ 10 ป
สาเหตุ
1) ปัจจัยทางชีวภาพ
พันธุกรรม
สารสื่อประสาทในสมอง
ฮอร์โมนเพศในเด็กชายที่มีระดับ testosterone สูง จะมี ความอดทนต่า
มีระดับ androstenedione สูง จะมีพฤติกรรมก้าวร้าว
dopamine หรือ 5-hydroxyindoleacetic acid ผิดปกติ
2) ปัจจัยทางสภาวะแวดล้อม
เศรษฐานะต่ำ การติดสารเสพติดของบิดามารดา
เด็ก มีพฤติกรรมเกเรส่วนมากมาจากครอบครัวที่ไม่สงบสุข
การทะเลาะกันของบิดามารดาขาดความ อบอุ่น ถูกทารุณหรือถูกทอดทิ้ง
อาการและอาการแสดง
1) ด้านอารมณ์
ไม่มั่นใจในตนเองรู้สึกตนเองไม่มีคุณค่า
มักใช้กลไกทางจิตแบบโทษผู้อื่น
ความอดทนต่ำ อารมณ์เสีย หงุดหงิดง่าย
ไม่รู้สึกผิดเมื่อถูกลงโทษ
มีความวิตกกังวลและซึมเศร้าร่วมด้วย
2) ด้านพฤติกรรม
ก้าวร้าวรุนแรง มักมีเรื่องทะเลาะวิวาท ชกต่อย ตบตีเป็นประจำ
ดื้อไม่เชื่อฟังผู้ปกครองหรือครู
ชอบแกล้งเพื่อนหรือข่มขู่ให้ผู้อื่นทำตามที่ตนต้องการ
ชอบพูดคำหยาบพูดโกหก
ลักขโมย ทำลายทรัพย์สิน
หนีเรียนหนีออกจากบ้าน
ใช้สารเสพติด สูบบุหรี่ ดื่มสุรา
มีพฤติกรรมทางเพศที่ไม่เหมาะสมกับวัย
การวินิจฉัย
A. พฤติกรรมที่ละเมิดสิทธิผู้อื่น หรือไม่ปฏิบัติตามกฎระเบียบของสังคมอย่างต่อเนื่อง โดยทำซ้ำๆและทำมาเป็นเวลานานต้องปรากฏอาการอย่างเด่นชัดอย่างน้อย3ข้อจาก15ข้อใน รอบ 12 เดือนที่ผ่านมา และอย่างน้อย 1 ข้อ ท่ีทำติดต่อกันไม่น้อยกว่า 6 เดือน
ก้าวร้าวต่อคนหรือสัตว์
เคยทำร้ายคน
เคยทำร้ายสัตว์
ใช้อาวุธในการทำร้ายผู้อื่น (ใช้ไม้ อิฐ เศษแก้วท่ีแตก มีด ปืน)
มีการขโมยต่อหน้าเจ้าของ
เป็นผู้ท่ีเร่ิมการต่อสู้
บังคับให้ผู้อื่นมีกิจกรรมทางเพศด้วย
รังแก ข่มขู่ ทำให้ผู้อื่นหวาดกลัว
ทำลายทรัพย์สิน
ต้ังใจวางเพลิง เพื่อให้เกิดความเสียหายรุนแรง
ต้ังใจทำลายทรัพย์สินซึ่งเป็นความต้ังใจอื่นๆ
งัดแงะบ้าน อาคาร หรือรถของผู้อื่น
พูดโกหกบ่อยเพื่อให้ได้ส่ิงท่ีต้องการหรือหลีกเลี่ยงกฎเกณฑ์
ลักขโมยของเล็กๆ น้อยๆ โดยไม่เผชิญหน้ากับเจ้าของ
ฝ่าฝืนกฎระเบียบอย่างรุนแรง
หนีโรงเรียนก่อนอายุ 13 ปี
หนีออกไปค้างนอกบ้านอย่างน้อย 2 คร้ังในขณะท่ีอาศัยอยู่กับผู้ปกครอง
ออกนอกบ้านกลางคืนบ่อยคร้ังแม้ผู้ปกครองจะไม่อนุญาต เริ่มก่อนอายุ 13 ปี
C. ถ้าอายุ 18 ปี หรือมากกว่า ต้องไม่เข้าเกณฑ์ของ Antisocial Personality Disorder
B. พฤติกรรมที่ผิดปกตินี้เป็นสาเหตุของการบกพร่องทางด้านสังคม ด้านการศึกษา หรือการประกอบ อาชีพ
ระดับความรุนแรงจากเกณฑ์การวินิจฉัย
ระดับเล็กน้อย(Mild)
ระดับปานกลาง (Moderate)
ระดับรุนแรง (Severe)
การวินิจฉัยการพยาบาล (Nursing Diagnosis)
ปฏิสัมพันธ์ทางสังคมบกพร่อง
เสี่ยงต่อการเกิดพฤติกรรมรุนแรงที่อาจเป็น
อันตรายต่อผู้อื่น
บกพร่องในการสร้างสัมพันธภาพกับผู้อื่น
บกพร่องในการเผชิญปัญหา
ไม่สามารถควบคุมตนเองได้
การปฏิบัติการพยาบาล (Nursing intervention)
ส่งเสริมความตระหนักรู้ในพฤติกรรมที่เป็นปัญหาของตนและรับรู้ว่าพฤติกรรม ดังกล่าวไม่เป็นท่ียอมรับของสังคม โดยใช้หลักพฤติกรรมบาบัด เช่น การให้แรงเสริมทางบวกและทาง ลบ,
เปิดโอกาสให้ปรับเปลี่ยนพลังความคับข้องใจ ความโกรธ เป็นพลังสร้างสรรค์เพื่อให้ เกิดการผ่อนคลาย เช่น เล่นกีฬา และเล่นดนตรี
ให้คาแนะนาการเลี้ยงดูแก่ผู้ปกครองและครูท่ีโรงเรียนในการจัดการปัญหา พฤติกรรมต่างๆ ของเด็ก
ส่งเสริมความตระหนักรู้ในคุณค่าของตนเอง การพัฒนาเอกลักษณ์แห่งตนอย่าง เหมาะสมด้วยการเสริมสร้างประสบการณ์ความสาเร็จ การประเมินศักยภาพของตนเอง และการ ตั้งเป้าหมายชีวิต
การสร้างสัมพันธภาพเพื่อการบำบัดเพื่อให้เกิดความไว้วางใจ
การรักษา
การป้องกันได้ผลดีกว่าการรักษา และการรักษาตั้งแต่เริ่มแรกจะได้ผลดีกว่าเมื่อมีปัญหา มานานแล้ว การรักษาต้องใช้หลายวิธีผสมผสานกันไป ท้ังการรับเป็นคนไข้ใน พฤติกรรมบาบัด ครอบครัวบาบัด และการใช้ยาในกลุ่มยารักษาโรคจิต ลิเทียม หรือยากันชักบางประเภทในรายที่มี อาการก้าวร้าวรุนแรงเกินกว่าควบคุมได้