Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กโรคหัวใจและหลอดเลือด, น.ส.วริษฐา โปรยทอง รุ่น 37 เลขที่ 75 …
การพยาบาลเด็กโรคหัวใจและหลอดเลือด
โรคหัวใจตั้งแต่กำเนิด
ชนิดเขียว
เลือดเลี้ยงปอดน้อยอาจมีภาวะสมองขาดออกชิเจนเฉียบพลัน
Tetralogy of Fallot (TOF)
ผิดปกติ 4 อย่าง
การตีบของลิ้นpulmonary (pulmonic stenosis)
ผนังระหว่างVentricleมีรูรั่ว (VSD) ขนาดใหญ่
ตำแหน่งลื้นAorticเลื่อนไปขวา(overriding aorta หรือ dextroposition of the aorta)
การหนาตัวของ right ventricular (right ventricular hypertrophy)
อาการ
เขียวทั่วร่างกาย
นั่งยองแล้วจะเขียวมากขึ้นร่วมกับมีอาการหอบ
ภาวะหัวใจวาย
Pulmonic atresia (PA) ลื้นพัลโมนารี
Tricuspid atresia (TA) ลิ้นไตรคัสปิดตัน
เลือดไปเลี้ยงปอดมาก อาการเขียว ภาวะหัวใจวาย
Transposition of great arteries(TGA)
มีการสลับของหลอดเลือดแดงใหญ่(Aorta, Pulmonary artery) Aorta ออกจาก Right Ventricle และ Pulmonary artery ออกจาก Left Ventricle
อาการ
เขียวตั้งแต่แรกเกิด ถ้ามีVSD ร่วมด้วยจะมีอาการเหนื่อยหอบ รวมถึงหัวใจวาย
การพยาบาล
มีภาวะสมองขาดออกชิเจนอย่างเฉียบพลันเนื่องจากสมองขาดเลือดอย่างเฉียบพลัน
ดูแลไม่ให้เด็กร้อง โดยการทำให้สงบ
ดูแลให้ออกชิเจน
ดูแลให้ยาที่ทำให้สงบตามแผนการรักษา
จัดท่านอนคางชิดอก
2.เสี่ยงต่อการเกิดภาวะสมองขาดออกซิเจนได้ง่าย
ควบคุมและจำกัดกิจกรรม
ดูแลไม่ให้เกิดอาการท้องผูก
สังเกตอาการเริ่มของภาวะสมองขาดออกซิเจน
เขียว
หอบเหนื่อยมากขึ้น
หายใจเร็วและแรง
ดื่มน้ำมากๆ และมีการบันทึกสารน้ำเข้าออก I/O
ติดตามผลตรวจHct
ดูแลให้ยาเสริมธาตุเหล็กตามแผน
มีโอกาสเกิดการอุดตันของหลอดเลือดฝอยในร่างกายโดยเฉพาะหลอดเลือดฝอยที่สมอง เนื่องจากภาวะเลือดข้น
เปลี่ยนท่าพลิกตะแคงอย่างน้อยทุก 2 hr
ดูแลดื่มน้ำให้เพียงพอ และบันทึก I/O
บันทึกสัญญาณชีพทุก 4 hr
ฟังเสียงปอดเป็นระยะ
สังเกตอาการผิดปกติ เช่น แขนขาเย็น มีปวดหรือชา
4.มีโอกาสเกิดผีในสมองเนื่องจากความผิดปกูติของหัวใจและหลอดเลือดทำให้เลือดบางส่วนส่งไปปอดไม่ได้
บันทึกสัญญาณชีพทุก 4 hr.
รายที่สงสัยให้ประเมินอาการทางระบบประสาทด้วย
อาเจียน
เห็นภาพช้อน
ชัก
ดูแลให้ยาแบบประคับประคอง
ในรายที่เป็นฝีในสมองให้Antibioticตามแผนการรักษา
ให้คำแนะนำพ่อแม่ในการป้องกันการติดเชื้อที่ผิว
ชนิดไม่เขียว
กลุ่มที่มีการไหลลัดของเลือดจากหัวใจซีกซ้ายไปซีกขวา
VSD(Ventricular Septal Defect)
พบบ่อยที่สุดในเด็ก มีรูรั่วที่ผนังกั้น Ventricleจากช้ายไปขวา
อาการ
เหนื่อง่ายโดยเฉพาะเวลาดูดนม การเจริญเติบโตช้า ติดเชื้อทางเดินหายใจบ่อย
พยาธิสรีรวิทยา
มีการรั่วของเลือดจากกซ้ายไปขวา ทำให้เลือดแดงและดำผสมกัน เลือดแดงเลยต้องกลับไปฟอกที่ปอด ทำให้ปอดทำงานหนังขึ้นด้วย
ASD(Atrial Septal Defect )
พยาธิสรีรวิทยา
มีรูรั่วผนังกั้นระหว่างAtrium คือ เลือดจากหัวใจห้องบนมีการรั่วจากช้ายไปขวา ทำให้เลือดแดงต้องกลับไปฟอกที่ปอดอีก ทำให้ปอดทำงานหนัก
อาการ
เด็กที่เป็นอาการมักไม่แสดงให้เห็น
PAD(Patent Ductus Arteriosus)
พยาธิสรีรวิทยา
เลือดไปปอดมาก เกิดจาก หลอดเลือดยังมีการเปิดอยู่หลังเด็กเกิด
ทำให้มีการติดต่อกันระหว่างAortaและPulmonary artery
สาเหตุ
เด็กคลอดก่อนกำหนด
ภาวะออกชิเจนในเลือดต่ำ
ติดเชื้อ (ติดเชื้อหัดเยอรมัน ช่วง 1-3 เดือน ทำให้หัวใจพิการได้)
อาการ
เหนื่อยง่าย ป่วยบ่อย ติดเชื้อง่าย ดูดนมก็เหนื่อย การเติบโตช้า
กลุ่มที่มีการอุดกั้นการไหลของเลือด
Aortic stenosis (AS)
พยาธิสรีรวิทยา
เกิดการตีบของลิ้นAorticหรืออุดกั้นของLeft Ventricle ทำให้การบีบตัวส่งเลือดไปเลี้ยงร่างกายได้ไม่สะดวก
อาการ
เพลีย เจ็บหน้าอก
Pulmonary Stenosis (PS)
พยาธิสรีรวิทยา
เกิดการตีบที่ลิ้น Pulmonary หรืออุดกั้นทางออกของRight Ventricle ทำให้การบีบตัวของเลือดดำที่ส่งไปปอดไม่ดี
อาการ
หัวใจวายได้ เจ็บหน้าอก หรือบางรายหมดสติได้
Coarctation of the Aorta (CoA)
พยาธิสรีรวิทยา
มีการตีบแคบของAorta ทำให้เลือดที่ไหลจากAortaไปเลี้ยงส่วนบนและลงสู่ล่างได้ไม่ดีส่งผลให้ความดันโลหิตของแขนสูงกว่าขา
อาการ
หายใจเร็วและแรง ดูดนมช้า ชีพจรที่ขาเบา
การพยาบาล
1.เนื้อเยื่อของร่างกายอาจได้รับออกชิเจนไม่พอเนื่องจากประสิทธิภาพการทำงานหัวใจลดลง
จำกัดกิจกรรมและให้พักผ่อนให้เพียงพอ
จัดท่านอนศีรษะสูง
ให้ได้รับออกชิเจนที่เพียงพอ
เลี่ยงอาหารรสเค็ม ทานอาหารอ่อนๆ
ดูแลผู้ป่วยอย่างใกล้ชิด
ให้ได้รับยาดิติตาลิสตามแผนการรักษา
ก่อนให้ต้องจับPRก่อนทุกครั้งเพื่อดูการเต้นของหัวใจ
ยาตัวนี้ทำให้หัวใจบีบตัวเร็วขึ้น การเต้นช้าลง
บันทึกสัญญาณชีพทุก 4 hr.
2.อาจมีอาการหมดสติเนื่องจากได้รับออกชิเจนไม่พอจากการที่เลือดไปเลี้ยงสมองไม่พอ
ถ้าผู้ป่วยเป็นลม
นอนหงาย ยกเท้าสูง
ปลดเสื้อผ้าให้สูงเพื่อให้ปอดขยาย
สังเกตและบันทึกPRและBP
แนะนำให้ผู้ป่วยเล่นกิจกรรมที่ต้องออกแรงเพื่อให้เลือดมีการสูบฉีด
สังเกตการเปลี่ยนแปลงของผู้ป่วยเสมอ
3.เสี่ยงต่อการติดเชื้อเนื่องจากเลือดไปเลี้ยงปอดมาก
ดูแลช่องปากและฟันให้สะอาด
ดูแลสิ่งแวดล้อมให้เหมาะสมและสะอาด
ดูแลให้ยาปฏิชีวะนะตามแผนการรักษา
4.มีโอกาสเกิดการติดเชื้อที่เยื่อบุหัวใจเนื่องจากมีความผิดปกติของหัวใจและหลอดเลือดที่ทำให้เกิดการลัดของเลือด
ดูแลช่องปากและฟันให้สะอาด
ดูแลให้ได้รับAntibiotic ก่อนทำหัตถการที่ฟัน
สังเกตและประเมินของภาวะเยื่อบุหัวใจอักเสบ
เพลีย
เบื่ออาหาร
น้ำหนักลด
เสี่ยงต่อการเจริญเติบโตไม่สมวัยหรือต่ำกว่าเกณฑ์เนื่องจากดูดนมหรือทานอาหารได้น้อย
ให้ผู้ป่วยได้พักก่อนทานเพื่อให้ได้มีการสะสมพลังที่จะให้การดูดนมหรือเคียวอาหาร
ให้เด็กได้ทานอาหารที่ครบ 5 หมู่ และมีแคลอรี่สูง
ดูแลให้นมตามปกติ โดยให้น้อยๆแต่บ่อย
ทานอาหารให้ครบ 3มื้อ
ชั่งน้ำหนักเพื่อประเมินดูภาวะโภชนาการ
รายที่เบื่ออาหาร ดูดนมไม่ได้บ่อยครั้ง ให้รีบรายงานแพทย์
6.มีโอกาสพัฒนาการล่าช้าเนื่องจากมีอาการอ่อนเพลียการเคลื่อนไหวน้อย หรือบางรายมีอาการหายใจลำบาก
ประเมินดูพัฒนาการของเด็ก
มีการจัดกิจกรรมที่ส่งเสริมการพัฒนาการของเด็ก
ให้ข้อมูลกับพ่อแม่เกี่ยวกับพัฒนาการของเด็ก
พ่อแม่กังวลเกี่ยวกับความผิดปกติของหัวใจและหลอดเลือดตั้งแต่กำเนิดบุตร
ให้ข้อมูลกับพ่อแม่เกี่ยวสุขภาพลูก
อธิบายให้เข้าใจเกี่ยวกับความผิดปกติที่เกิดขึ้น
สนับสนุนให้พ่อแม่กอดลูกเท่าที่จะทำได้ เพราะทำให้สัมพันธภาพดีขึ้น
โรคหัวใจที่เกิดขึ้นภายหลัง
Infective endocarditis(IE)
ติดเชื้อที่เยื่อบุหัวใจ
สาเหตุ
มักเกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรีย (Streptococcus viridans, Staphylococcus aureus)
อาการ
เพลีย เหนื่อยง่าย เสียงหัวใจเป็นMurmur ม้ามโตกดไม่เจ็บ
การรักษา
ติดตามการเจาะเลือดส่งเพาะเชื้อในเลือด
ให้ยาปฏิชีวะนะ
ตรวจสอบแหล่งการติดเชื้อ
การพยาบาล
1.มีการติดที่เยื่อบุทางเดินหายใจ
ดูแลให้Antibioticทางหลอดเลือดดำตามแผนการรักษา
ทานอาหารที่มีประโยชน์ ครบ 5 หมู่ อาหารอ่อนย่อยง่าย
บันทึกสัญญาณชีพทุก 4 hr
ดูแลให้พักผ่อนเพียงพอเพื่อลดการทำงานหัวใจ
สังเกตอาการข้างเคียงของยา Antibiotic
อาจเกิดการติดเชื้อที่เยื่อบุหัวใจซ้ำได้
ดูแลความสะอาดและพักผ่อนให้เพียงพอ
แนะนำให้พ่อแม่หรือผู้ป่วยดูแลช่องปาก
ทานยาAntibioticเพื่อป้องกันก่อนทำหัตถการ
สังเกตอาการติดเชื้อ
Rheumatic Heart Disease (RHD)
โรคหัวใจรูห์มาติค
เกิดตามหลังไข้รูห์มาติคซึ่งมีการติดเชื้อ อาจทำให้เกิดการอักเสบของหัวใจ ส่งผลให้เกิดภาวะหัวใจวาย ตลอดถึงรั่วหรือตีบได้
Rheumatic Fever ไข้รูห์มาติค
พยาธิสรีรวิทยา
เกิดอักเสบที่เนื้อเยื่อเกี่ยวพัน มักเกิดตามหลังคออักเสบด้วยเชื้อ B-hemolytic streptococcus group ทำให้เกิดภาวะหัวใจวายและลิ้นหัวใจถูกทำลาย
อาการ
major criteria
หัวใจอักเสบ(Carditis)
ปวดตามข้อ(polyarthritis)
ผื่นแดง(erythema marginatum)
minor criteria
ไข้ต่ำ ปวดตามข้อ เคยเป็นไข้รูห์มาติค
การรักษา
ให้ยาAntibioticกำจัดเชื้อ
ยาต้านการอักเสบของหัวใจและข้อ
นอนพัก อาการหัวใจวายให้พักจนกว่าจะควบคุมได้แล้วค่อยๆเพิ่มการเคลื่อนไหว
ให้ผู้ป่วยที่มีภาวะหัวใจวายให้การรักษาโดยให้ยา Digitalis
ข้อวินิจฉัย
1.เสี่ยงต่อการติดูเชื้อB-hemolytic Streptococcus group A ช้ำและการติดเชื้อเยื่อบุหัวใจจากโรคหัวใจรูห์มาติคมาก่อน
เสี่ยงต่อเนื้อเยื่อของร่างกายออกชิเจนเนื่องจากมีภาวะหัวใจวาย เพราะมีการอักเสบของหัวใจและลิ้นหัวใจ
มีความเครียดต่อการถูกจำกัดให้พักอยู่บนเตียงและอยู่โรงพยาบาลนาน
พ่อแม่กังวลต่อการเจ็บป่วยของลูกและดูแลเมื่อลูกกลับบ้าน
การพยาบาล
มีการอักเสบของกล้ามเนื้อหัวใจเนื่องจากติดเชื้อ
B-hemolytic Streptococcus group A
ดูแลให้Antibioticตามแผนการรักษา
ดูแลพักผ่อนให้เพียงพอ
ให้ทานอาหารอ่อน
บันทึกสัญญาณชีพทุก 4 hr
ติดตามฟังเสียงฟู่หัวใจเป็นระยะๆ
ดูแลให้ยาPenisolone เมื่อมีภาวะหัวใจวาย ลดอักเสบกล้ามเนื้อหัวใจ
มีการอักเสบของข้อเนื่องจากมีการติดเชื้อ
B-hemolytic Streptococcus group A
ให้ยาAspirinเพื่อลดการอักเสบปวดที่ข้อ
ดูแลให้ได้พักข้อและช่วยเหลือการทำกิจกรรมต่างๆ
ระวังอุบัติเหตุ
สังเกตและบันทึกการอักเสบของข้อ
เกิดการกลับเป็นซ้ำของRheumatic Feverโดยมีการติดเชื้อ
B-hemolytic Streptococcus group A
ให้ได้รับAntibioticตามแผนการรักษา
รักษาความสะอาดขงช่องปากและฟัน
แนะนำกิจกรรมต่าง ๆ
เลี่ยงใกล้ชิดกับผู้ที่คล้ายแสดงการติดเชื้อ
สังเกตอาการผิดปกติและพบแพทย์ตามนัด
ภาวะหัวใจวาย
สาเหตุ
หัวใจทำงานหนักมากขึ้นเนื่องจากเลือดในหัวใจเพิ่มขึ้นมากจากการรั่วไหล
กลุ่มเลือดไหลลัดจากหัวใจทางขวา
กลุ่มรั่วของลิ้นหัวใจ
กลุ่มเลือดไปเลี้ยงที่ปอดมาก
หัวใจทำงานหนักมากขึ้นเนื่องจากมีความดันในVentricleสูงกว่าปกติจากการอุดกั้นทางออกของVentricle
ผิดปกติที่กล้ามเนื้อหัวใจ ทำให้การทำงานของหัวใจลดลง
จังหวะการเต้นผิดปกติ ทำให้เลือดไหลออกน้อยลง
อาการ
ขวาวาย
บวม(ตา แขน หน้า), ตับม้ามโต, หลอดเลือดดำที่คอโป่งพอง อึดอัดแน่นท้อง
ซ้ายวาย
น้ำคั่งปอด,เลือดคั่งปอด,หน้าอกบุ้ม,หายใจลำบาก ฟังเสียงได้ยิน crepitation
การรักษา
lanoxin
เพิ่มแรงบีบของกล้ามเนื้อหัวใจ ทำให้เต้นช้า อัตราการเต้นลด ทำให้Cardiac output เพิ่ม ส่งผลให้ลดการคั่งในหลอดเลือดฝอย
ทำให้มีการขับปัสสาวะมากขึ้น ลดแรงต้านหลอดเลือด
ทำให้หัวใจไปเลี่ยงส่วนต่างๆได้มากขึ้น
การพยาบาล
1.เลือดที่ไปเลี้ยงร่างกายลดลง ผลมาจากหัวใจผิดปกติ
นอนศีรษะสูง
ให้ได้รับออกซิเจนเพียงพอ
ทานอาหารจืดเลี่ยงเค็ม
สังเกตและบันทึกสัญญาณชีพทุก 4 hr
ให้ได้รับยาดิจิตาลิสตามแผนการรักษา
บันทึกการดื่มน้ำและปัสสาวะรอบ 24 hr.
2.ภาวะน้ำเกิน เนื่องจากมีการคั่งหรือสะสมของน้ำในร่างกายเพิ่มเติม ทำให้หัวใจทำงานหนัก
ให้ได้รับยาขับปัสสาวะ
ในได้รับสารอาหารที่มีแคลอรี่เพียงพอ
บันทึกปริมาณน้ำที่ดื่มและปัสสาวะรอบ 24hr.
ชั้งน้ำหนักทุกวันเพื่อทราบการเปลี่ยนแปลง
ประเมินอาการบวม
เสี่ยงต่อการได้รับสารอาหารไม่เพียงพอเนื่องจากอัตราการเผาผลาญสูง จากการที่หัวใจทำงานลดลงและอัตราการเต้นและอัตราการหายใจเพิ่ม
ให้ได้รับสารอาหารที่แคลอรี่100-120 cal/kg/day
แนะนำพ่อแม่ให้ทราบถึงเทคนิคการให้นมหรืออาหาร
ชั้งน้ำหนักเด็กทุกวันเพื่อดูการเปลี่ยนแปลง
สังเกตและบันทึกปริมาณนมหรืออาหารที่ผู้ป่วยได้รับ
4.ผู้ป่วยมีโอกาสเกิดพัฒนาการล่าช้า
ดูแลประเมินพัฒนาการของเด็ก
ให้เด็กได้เล่นในเวลาสั้นๆ
จัดหาของเล่นต่างๆ
ให้เด็กได้มีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น
มีโอกาสเกิดการติเชื้อทางเดินหายใจเนื่องจากมีการคั่งเลือดที่ปอด
การแลกเปลี่ยนออกซิเจนลดลง ทำให้การทำงานของปอดลดลง
ดูแลให้สิ่งแวดล้อมให้สะอาดและปลอดโปร่ง
ดูแลให้พักให้เพียงพอ
ให้ได้รับสารอาการที่มีประโยชน์และเพียงพอ
ดูแลไม่ให้ผู้ป่วยไปใกล้ชิดกับผู้มีมีการติดเชื้อ
ดูแลช่องปากและฟันให้สะอาด
สังเกตและบันทึกสัญญาณชีพทุก 4 hr
ถ้าติดเชื้อต้องดูแลให้ได้รับAntibioticตามแผนการรักษา
6.มีโอกาสเกิดภาวะเป็นพิษจากดิจิตาลิส
ดูแลให้ได้รับยาดิจิตาลิส จะต้องจับ PRให้ครบ 1 min
สังเกตและบันทึกPR และฟังเสียงหัวใจสม่ำเสมอ
สังเกตอาการโพแทสเชียมต่ำ เช่น กล้ามเนื้ออ่อนแรง ความดันต่ำ หัวใจเต้นเร็ว/ช้า
สังเกตอาการผิดปกติของภาวะเป็นพิษ เช่น คลื่นไส้ อาเจียน หัวใจเต้นชา เต้นไม่สม่ำเสมอ
Kawasaki Disease (คาวาซากิ)
สาเหตุ
มีการอับเสบของผนังหลอดเลือดCoronaryและหลอดเลือดแดงขนาดกลางและมีPlatelet thrombi
อาการ
การเปลี่ยนแปลงที่มือและเท้า เป็นลักษณะที่ไม่ค่อยเห็น 2-3 week หลังจากข้จะเห็นผิวหนังลอก เริ่มลอกเล็บมือ เท้า 4-6 week เริ่มมีใข้เห็นรอยขีด ตามแนวที่เรียกว่า Beau Lin
ไข้ ตาแดง ปากแดง เท้าผื่น ต่อมน้ำเหลืองที่ไต
ไข้ ส่วนใหญ่ไข้สูงพักๆ ไข้ลดมักจะไม่ลดเป็นปกติ
ตาแดง มักเห็นภายใน2-4 วันแรก
ริมฝีปากแดงและแห้ง เห็นชัดๆตั้งแต่วันแรกของโรค
การพยาบาล
ดูแลความสะอาดของช่องปาก
ดูการทำงานของหัวใจและปอดและหลอดเลือด สังเกตการเต้นของหัวใจ
ประเมินการไหลเวียนเลือดของแขนขา
จัดสภาพแวดล้อมให้สงบ เพื่อให้พักผ่อนได้เพียงพอ
วัดPRโดยเฉพาะอย่างยิ่ง ขณะให้gamma globulin สังเกตดูการแพ้ ถ้าแพ้หยุดทันที
กระตุ้นให้ดื่มน้ำเพิ่ม ไม่ต้องห่มผ้าและเช็ดตัวลดไข้ วัดปรอททุก 4 hr.
บันทึกน้ำดื่ม ปัสสาวะ ในรอบ24 hr. ระวังการขาดน้ำ
อาหารไม่เพียงพอ ดูแลความอยากอาหารจัดอาหารให้น่าทานและสะดวกสบายในการทาน ลดเค็มอาหารไม่เพียงพอ ดูแลความอยากอาหาร
ชั่งน้ำหนักทุกวัน ดูการบวมของหัวใจวาย
ระวังการติดเชื้อ รักษาความสะอาด
ลดความกังวลและความกลัวเพราะอาจส่งผลต่อหัวใจได้
น.ส.วริษฐา โปรยทอง รุ่น 37 เลขที่ 75
รหัส 62111301078