Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ปัจจัยที่ส่งผลต่อภาวะสุขภาพของมารดาทารก ในระยะตั้งครรภ์ ระยะคลอด…
ปัจจัยที่ส่งผลต่อภาวะสุขภาพของมารดาทารก ในระยะตั้งครรภ์ ระยะคลอด และระยะหลังคลอดปกติ
ปัจัยส่วนบุคคลของมารดา
สถานภาพสมรส
สตรีตั้งครรภ์ที่เป็นโสด หม้าย หย่า มักขาดคนดูเเลเเละขากดกำลังใจ
อาชีพ
ไม่มีข้อห้ามสำหรับหญิงตั้งครรภ์ในเรื่องของการทำงาน เเตงานที่ทำต้องไม่เป็นงานที่ก่อให้เกิดความเหนื่อยล้ามากเกินไป
รายได้/ฐานะทางเศรษฐกิจ
สตรีที่รายได้สูง จะมีภาวะสุขภาพที่ดี ได้รับสารอาหารที่เพียงพอ เเละเข้าถึงบริการได้ย่างเหมาะสม
ลำดับที่ของการตั้งครรภ์
สตรีที่ผ่านการตั้งครรภ์มาเเล้วจะสามารถควบคุมอารมณ์เเละสถานการณ์ได้ดี
ระดับการศึกษา
บุคคลที่มีการศึกษาสูงจะตระหนักถึงปัจจัยจ่างๆ เเละมีความเข้าใจในเรื่องสุขภาพอนามัยที่ดี
จำนวนครั้งการคลอด
การคลอดคั้งเเรกจะมีอัตราเสี่ยงอันตราย และการคลอดมากกว่า 4 ครั้ง ก็จะทำมห้มีโอกาสเสี่ยงสูงขึน เช่น การตกเลือดหลังคลอด
นํ้าหนักตัว และส่วนสูง
สตรีตั้งครรภ์ที่มีนํ้หนักตัวน้อยอาจส่งผลให้ทารกในครรภ์มีนํ้าหนักตัวน้อย
สตรีตั้งครรภ์ที่มีนํ้าหนักตัวมากกว่า 80 กิโลกรัม มีโอกาสเสี่ยงต่อการคลอดยาก
สตรีตั้งครรภ์ที่มีส่วนสูงตํ่ากว่า 145 เซนติเมตร มีอกาสเสี่ยงต่อการคลอดติดขัด
ระยะห่างของการตั้งครรภ์
ระยะห่างของครรภ์ที่ปลอดภัยที่สุดประมาณ 2-4 ปี
อายุ
อายุจะเป็นตัวที่กำหนดขอบเขตของพฤติกรรม ในการที่อายุที่มากในขณะตั้งครรภ์ ทำให้มีโอกาสเสี่ยงต่ออันตรายหือความผิดปกติได้มากกว่า
ภาวะสุขภาพสตรีตั้งครรภ์
สตรีตั้งครรภ์ที่มีโรคประจำตัว เช่น เบาหวาน หัวใจ ความดัน หรือโรคทางพันธุกรรม ทำให้ทารกแรกเกิดมีความพิการแต่กำเนิด
ความเชื่อ ค่านิยม และพฤติกรรมของมารดา
ปัจจัยด้านความเชื่อ ค่านิยม
ความเชื่อในระยะตั้งครรภ์
การดื่มนํ้ามะพร้าว จะทำให้ทารกผิวพรรณดี
ห้ามนอนหงาย เพราะจะติดหลังทำให้คลอดไม่ได้
ห้ามไปงานศพ โดยเชื่อว่าจทำให้วิญญาณร้ายตามมา
ห้ามรับประทานกล้วยนํ้าหว้า มีความเชื่อว่าจะให้คลอดยาก
ห้ามรับประทานเนื้อวัว เพราะเชื่อว่าจะทำให้ทารกมีไขมันติดตามตัวมาก
ความเชื่อในระยะคลอด
การตัดสายสะดือ
ความเชื่อในระยะหลังคลอด
การอยู่ไฟหลังคลอด เชื่อว่าความร้อนจากการอยู่ไฟจะให้ความอบอุ่นทางด้านจิตใจ
ความเชื่อในการดูเเลทารกแรกเกิด
เมื่อทารกคลอดแล้วหมอตำแยจะจับทารกควํ่าหน้า ใช้มือควักมูกออกจากปาก เพื่อป้องกันทารกสำลักนํ้าครํ่า
พฤติกรรมของสตรีตั้งครรภ์
การดื่มสุรา
ส่งผลให้ทารกที่คลอดออกมามีโอกาสที่จะเกิดความผิดปกติ
สมองเล็กกว่าปกติ
หัวใจผิดปกติโดยกำเนิด
ปากแหว่ง เพดานโหว่
การสูบบุหรี่
การเจริญเติบโตของทารกในครรภ์ช้า
ทารกที่คลอดออกมามีนํ้าหนักตัวน้อยผิดปกติ
การใช้สารเสพติด
มีการใช้สารเสพติดมากขึ้นในสตรีที่มีอายุน้อย และไม่มีความรู้เกี่ยวกับการคุมกำเนิดที่ถูกต้อง ทำให้มีโอกาสที่จะตั้งครรภ์ในขณะที่ใช้สารเสพติด
การใช้ยา
ยาประเภทซัลฟา
ทำให้ทารกเเรกเกิดมีอาการดีซ่าน และสมองพิการได้
เมโทรบาเมต
ทำให้ทารกเจริญเติบโตช้า
ไนโตรฟูเเรนโทอิน
อาจทำให้สตรีตั้งครรภ์เป็นตับอักเสบ โลหิตจาง
ปัจจัยด้านสิ่งเเวดล้อม
ระบบบริการทางการแพทย์และสาธารณสุข
โอกาสของสตรีตั้งครรภ์ในการเข้าถึงบริการทางการเเพทย์ มีผลต่อการดูแลสุขภาพด้านอนามัยแม่เเละเด็ก
การเมืองการปกครอง
นโยบาย งบประมาณ ที่มีเป้าหมายการลดอัตราการตายของมารดา ทารก ส่งเสริมให้มารดา ทารก มีคุณภาพมากยิ่งขึ้น
สภาพครอบครัว
สภาพครอบครัวที่แตกแยก หรือการตั้งครภ์ที่ไม่พึงประสงค์ จะส่งผลให้สตรีเกิดความเครียด ทำให้ความสามารถในการดูแลตนเองลดลง
มลพิษ
สตรีตั้งครรภ์ที่อยู่ในสิ่งเเวดล้อมที่เป็นพิษ เช่น สารเคมีที่เหลือจากโรงงาน สารปรอท จะมีฤทธิ์ทำลายพัฒนาการทางสมองของทารกในครรภ์โดยจะผ่านไปยังรก