Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ปัจจัยที่ส่งผลต่อภาวะสุขภาพของมารดาเเละทารกในระยะตั้งครรภ์ ระยะคลอด…
ปัจจัยที่ส่งผลต่อภาวะสุขภาพของมารดาเเละทารกในระยะตั้งครรภ์ ระยะคลอด เเละระยะหลังคลอดปกติ
ปัจจัยส่วนบุคคลของ มารดา
1.อายุ
อายุครรภ์มากกว่า 35 ปี
เป็นวัยที่เกือบสิ้นสุดอัตราการมีบุตร เซลล์เริ่มเสื่อม โอกาสให้กำเนิดบุตรที่มีความผิดปกติทางพันธุกรรมมากกกว่าวัยอื่นๆ
อายุน้อยกว่า 16 ปี
ร่างกายจะเจริญเติบโตไม่เต็มที่ เเละยังไม่บรรลุนิติภาวะ
2.น้ำหนักตัวเเละส่วนสูง
หญิงตั้งครรภ์น้ำหนักมากกว่า 80 กิโลกรั
ม มีโอกาสเสี่ยงต่อการคลอดยาก หรือคลอดติดขัด
หญิงตั้งครรภ์สูงน้อยกว่า 145 cm
เสี่ยงต่อการคลอดติดขัด
3.ระดับการศึกษา
การศึกาสูงจะมีความเข้าใจเเก้ปัญหาต่างๆ ป้องกันการเจ็บได้ดีกว่าการศึกษาต่ำ
4.รายได้หรือฐานะทางเศรษฐกิจ
สตรีตั้งครรภ์ที่มีรายได้สูงจะเอื้ออำนวยให้มีพฤติกรรมปฏิบัติตนเพื่อคงสุขภาพดีได้รับอาหารเพียงพอเข้าถึงบริการต่างๆได้อย่างเหมาะสม
5.สถานภาพสมรส
สตรีตั้งครรภ์ที่หม้าย โสด หย่า เเยกกันอยู่จะขาดกำลังใจ
6.อาชีพ
ไม่มีข้อห้ามในหญิงตั้งครรภ์ห้ามทำงาน เเต่ต้องไม่เป็นงานที่เหนื่อยล้าเกินไปหรืองานที่ทำต่อเนื่อง
7.ลำดับที่การตั้งครรภ์
เคยตั้งครรภ์เเล้วจะมีประสบการณ์ ถ้าครรภ์เเรกจะหาความรู้
8.จำนวนครั้งของการคลอด
คลอดตั้งเเรกเสี่ยงอันตราย ถ้าคลอดมากกว่า 4 ครั้งทำให้เสี่ยงสูงขึ้นอีก
9.ระยะห่างของการตั้งครรภ์
ระยะห่างที่ปลอดภัยสุดประมาณ 2-4 ปี
10.ภาวะสุขภาพสตรีตั้งครรภ์
สตรีตั้งครรภ์มีโรคประจำตัวเรื้อรังทำให้ทารกมีความพิการเเต่กำเนิด
ความเชื่อ ค่านิยม เเละพฤติกรรมของมารดา
1.ปัจจัยด้านความเชื่อ ค่านิยม
1.1ความเชื่อในระยะตั้งครรภ์
การดื่มน้ำมะพร้าวทำให้ผิวทารกดี
ห้ามกินกล้วยน้ำว้าจะทำให้คลอดยาก จึงๆจะทำให้ท้องผูก
1.2ความเชื่อในระยะคลอด
ใช้ไม้ไผ่ตัดสายสะดือ
1.3 ความเชื่อในระยะหลังคลอด
การอยู่ไฟหลังคลอด จะทำให้ความร้อนจากการอยูไฟจะให้ความอบอุ่นทางจิตใจตลอดจนบรรเทาความเจ็บปวด
1.4ความเชื่อในการดูเเลทารกเเรกเกิด
นิยมเลี้ยงทารกด้วยนมมารดา เป็นสิ่งที่ดีมาก
2.พฤติกรรมของสตรี
2.1การดื่มสุรา
เเม่ที่ดื่มสุราทำให้เด็ก สติปัญญาต่ำกว่าปกติ ทารกนอนหลับยาก รูปร่างทารกเเคระเเกร็น
2.2 การสูบบุหรี่
เด็กจะเจริญเติบโตในครรภ์ช้า
อตราเเท้งบุตร การคลอดก่อนกำหนด เเละทารกตายระหวางคลอดสูง
ทารกที่คลอดออกมามีน้ำหนักน้อยกว่าปกติ
ทารกที่คลอดออกมามีภาวการณ์หายใจสูงกว่าปกติเพราะปอดขยายไม่เต็มที่
2.3การใช้สารเสพติด
2.4 การใช้ยา
ระยะปฎิสนธิ ผลต่อทารกในครรภ์คือ เเท้ง
ระยะฝังตัว (1-2 สัปดาห์เเรก) เซลล์ลดลงทำให้เเท้ง
ระยะสร้างอวัยวะ ได้เเก่ พิการเเต่กำเนิด มะเร็ง
เดือนที่ 3-9 เช่น Aspirin ทำให้คลอดก่อนกำหนด
3.ปัจจัยด้านสิ่งเเวดล้อม
1.มลพิษ
สารปรอทจะมีฤทธิ์ทำลายพัฒนาการสมองของทารกในครรภ์โดยผ่านทางรก
2.สภาพครอบครัวที่เเตกเเยก
ทำให้หญิงตั้งครรภ์เกิดความเครียด
3.ระบบบริการทางเเพทย์เเละสาธารณสุข
โอกาสในการเข้าถึงบริการทางเเพทย์จะมีผลต่อการดูเเสุขภาพด้านอนามัยของเเม่เเละเด็ก
4.การเมืองการปกครอง
นโยบาย งบประมาณเป็นการส่งเสริมการดูเเลมารดาเเละทารกทำให้มีคุณภาพมากยิ่งขึ้น
โควิดกับหญิงตั้งครรภ์
ปัจจุบันไม่พบหลักฐานที่ม่รายงานทางการแพทย์ว่า สตรีต้้งครรภ์ที่ติดเชื้อ โรคโควิด -19จะมีอาการและอาการแสดงแตกต่างจากคนทั่วไป
ระยะฝากครรภ์
ช่วงไตรมาสเเรกเเละไตรมาสสองเเละไม่มีการตรวจนัดพิเศษใดๆสามารถโทรขอเลื่อนนัดออกไปก่อนได้ตามความเหมาะสม
เมื่อจำเป็นต้องไปพบเเพทย์ควรนัดเวลาล่วงหน้า สวมหน้ากากอนามัยตลอเวลาที่ออกนอกบ้าน ล้างมือ อู่ห่างจากผู้อื่นอย่างน้อย 2 เมตร เมื่อถึงบ้านให้ถอดหน้ากากอนามัยทิ้งทันที ล้างมือเเละเปลี่ยนเสื้อผ้าทันที
หญิงตั้งครรภ์ที่มีความจำเป็นต้องพบเเพทย์
อายุครรภ์มากกว่า 32 สัปดาห์ขึ้นไป
นัดอัลตร้าซาวด์ นัดคัดกรองเบาหวาน ลูกดิ้นน้อยลง
เลือดออกทางช่องตลอดหรือปวดท้อง