Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ปัจจัยที่ส่งผลต่อภาวะสุขภาพของมารดาทารกในระยะตั้งครรภ์ ระยะคลอด…
ปัจจัยที่ส่งผลต่อภาวะสุขภาพของมารดาทารกในระยะตั้งครรภ์ ระยะคลอด และระยะหลังคลอดปกติ
ปัจจัยส่วนบุคคลของมารดา
อายุ
ทั้งอายุน้อยเเละอายุมาก มีโอกาสเกิดภาวะเเทรกซ้อนที่เเตกต่างกัน
น้ำหนักตัว และส่วนสูง
สตรีตั้งครรภ์ที่มีน้ำหนักมากเกินไป (มากกว่า 80 กิโลกรัม) มีโอกาสเสี่ยงต่อการคลอดยาก
สตรีตั้งครรภ์ที่มีน้ำหนักตัวน้อย อาจส่งผลให้ทารกในครรภ์มีน้ำหนักน้อย
สตรีตั้งครรภ์ที่มีส่วนสูงต่ำกว่า 145 เซนติเมตร มีโอกาสเสี่ยงต่อการคลอดติดขัด
ระดับการศึกษา
บุคคลที่มีการศึกษาสูงจะตระหนักถึงปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับปัญหา มีความเข้าใจในสถานการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นได้ดี
รายได้ หรือฐานะทางเศรษฐกิจ
สตรีตั้งครรภ์ที่มีรายได้สูงจะเอื้ออำนวยให้มีพฤติกรรมการปฏิบัติตน เพื่อคงไว้ซึ่งภาวะสุขภาพที่ดีได้ โดยได้รับอาหารที่เพียงพอ ตลอดจนเข้าถึงบริการได้อย่างเหมาะสม
สถานภาพสมรส
มีความสำคัญในแง่ของการได้รับการสนับสนุนให้มีพฤติกรรมปฏิบัติเพื่อคงไว้ซึ่งภาวะสุขภาพ
สตรีตั้งครรภ์
อาชีพ
ไม่มีข้อห้ามสำหรับสตรีตั้งครรภ์ในเรื่องการทำงาน แต่งานที่ทำต้องไม่เป็นงานที่
ก่อให้เกิดความเหนื่อยล้ามากเกินไป
7.ลำดับที่ของการตั้งครรภ์
สตรีตั้งครรภ์ที่เคยผ่านประสบการณ์การตั้งครรภ์มาแล้ว จะสามารถควบคุมอารมณ์และ
สถานการณ์ได้ดี
ยังไม่มีประสบการณ์เกี่ยวกับการตั้งครรภ์และการคลอด อาจมีความสนใจค้นคว้าหาความรู้เรื่องการ
ปฏิบัติตนขณะตั้งครรภ์จากหนังสือ
จำนวนครั้งของการคลอด
การคลอดครั้งแรกจะมีอัตราเสี่ยงอันตราย ก่อให้เกิดภาวะแทรกซ้อนมากกว่าการคลอดครั้งที่ 2-
3 แต่ถ้ามีการคลอดมากกว่า 4 ครั้ง
ระยะห่างของการตั้งครรภ์
ถ้าระยะห่างระหว่างการตั้งครรภ์น้อยกว่า 2 ปี จะมีอัตราเสี่ยงสูงเป็น 3 เท่า ของการตั้งครรภ์
ห่างกัน 3 ปี เนื่องจากการตั้งครรภ์และคลอดที่ถี่เกินไป
ภาวะสุขภาพสตรีตั้งครรภ์
สตรีตั้งครรภ์ที่มีโรคประจำตัวเรื้อรังหรือโรคทางพันธุกรรม
ความเชื่อ ค่านิยม และพฤติกรรมของมารดา
ปัจจัยด้านความเชื่อ ค่านิยมความสามารถในการรับรู้ และความเชื่อ ปัจจัยทางประเพณีเกี่ยวกับการตั้งครรภ์ การคลอด และ
หลังคลอด การดูแลทารกแรกเกิด มีอยู่ในทุกสังคม และชนเผ่า
1.1 ความเชื่อในระยะตั้งครรภ์ เช่น การดื่มน้ำมะพร้าวอ่อน ห้ามนอนหงาย
1.2 ความเชื่อในระยะคลอด
การตัดสายสะดือ คนโบราณใช้ผิวไม้รวก (ไม้ไผ่) ตัดสายสะดือ
1.3 ความเชื่อในระยะหลังคลอดการอยู่ไฟหลังคลอด จากความเชื่อว่าความร้อนจากการอยู่ไฟจะให้ความอบอุ่นทางด้านจิตใจตลอดจนบรรเทาความเจ็บปวดลงได้
1.4 ความเชื่อในการดูแลทารกแรกเกิด เมื่อทากรกคลอดแล้วหมอตำแยจะจับทารกคว่ำหน้า ใช้มือควักมูกออกจากปาก เพื่อป้องกันทารกสำลักน้ำคร่ำ
ถ้าทารกไม้ร้องจะตีก้นเป็นการกระตุ้น และอาบน้ำล้างคราบเลือดต่างๆ
2.พฤติกรรมของสตรีตั้งครรภ์
2.1 การดื่มสุรา
น้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ปกติ
ปากแหว่ง เพดานโหว่ ดวงตาและกรามมีขนาดเล็กกว่าปกติ
สมองเล็กกว่าปกติ
หัวใจผิดปกติโดยกำเนิด
การเจริญเติบโตของแขนและขาผิดปกติ
ความสามารถในการดูดด้อยกว่าปกต
2.2 การสูบบุหรี่ จะมีผลทำให้เส้นเลือดมีการหดตัว
ทำให้เลือดที่ผ่านรกไปยังทารกจะน้องลงกว่าปกติ
2.3 การใช้สารเสพติด
2.4 การใช้ยา
1.ระยะปฏิสนธิผลต่อทารกในครรภ์ที่พบบ่อย ได้แก่ แท้ง
2.ระยะฝังตัว (1-2 สัปดาห์แรก) ผลต่อทารกในครรภ์ที่พบบ่อย ได้แก่เซลล์ลดลงทำให้แท้ง
3.ระยะสร้างอวัยวะต่างๆ ผลต่อทารกในครรภ์ที่พบบ่อย ได้แก่พิการแต่กำเนิด พบโรคมะเร็ง
ในภายหลังทารกในครรภ์เจริญเติบโตช้า
4.เดือนที่ 3 ถึงเดือนที่ 9 ผลต่อทารกในครรภ์ที่พบบ่อย ได้แก่ ทารกน้ำหนักตัวน้อย การ
เจริญของศีรษะผิดปกติระบบประสาทผิดปกติอวัยวะเพศภายนอกผิดปกติ
3.ปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม
มลพิษ เช่น Sulferdioxide Carbon monoxide ยาฆ่าแมลง
สารเคมีที่เหลือจากโรงงานอุตสาหกรรม สารปรอท จะมีฤทธิ์ทำลายพัฒนาการทางสมองของทารกในครรภ์โดยจะผ่านไปยังรก
การระบาดของโรคโควิด-19
การดูแลสตรีตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อโรคโควิด-19
การดูแลที่คลินิกฝากครรภ์ สตรีตั้งครรภ์ที่ไม่มีอาการหรืออาการน้อย ควรเลื่อนนัดเพื่อมาฝากครรภ์ ตรวจคลื่นเสียงความถี่สูง หรือตรวจคัดกรองเบาหวานไปจนกว่าจะพ้นช่วงกาหนดเวลากักตัว(isolation) โดยให้อยู่แต่ภายในที่พักอาศัย เป็นเวลาอย่างน้อย 14 วัน หรือจนกว่าจะตรวจไม่พบเชื้อกรณีผู้ป่วยครรภ์เสี่ยงสูงที่จาเป็นต้องนัดติดตาม ให้พิจารณาระหว่างความเสี่ยงและประโยชน์ที่จะได้รับถ้าจำเป็นจะต้องมาตรวจให้ใช้การป้องกันการแพร่เชื้อตามมาตรฐานของโรงพยาบาล
สตรีตั้งครรภ์ควรป้องกันตัวเองไม่ให้ติดเชื้อได้โดย
หลีกเลี่ยงที่ชุมชนห่างกัน 1.5 เมตร
ล้างมือบ่อยๆด้วยเเอลกอฮอล์ เจลหรือสบู่
สวมหน้ากากอนามัย
ถ้าไอ จาม ควรใช้ผ้า หรือทิชชูปิดปากเเละจมูก
สภาพครอบครัว
สภาพครอบครัวที่แตกแยก หรือการตั้งครรภ์ที่ไม่พึงประสงค์ จะส่งผลให้สตรีตั้งครรภ์เกิด
ความเครียด ทำให้ความสามารถในการดูแลตนเองลดลง
ระบบบริการทางการแพทย์และสาธารณสุข
โอกาสของสตรีตั้งครรภ์ในการเข้าถึงบริการทางการแพทย์ และสถานบริการสาธารณสุขที่อยู่
ใกล้เคียงมีเครื่องมือทันสมัย จะมีผลต่อการดูแลสุขภาพด้านอนามัยแม่และเด็ก
การเมืองการปกครอง
นโยบาย งบประมาร ตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ที่มีเป้าหมายการลดอัตรา
การตายของมารดา ทารก เป็นการส่งเสริมการดูแลมารตาและทารกให้มีคุณภาพมากยิ่งขึ้น
Teratogen หรือ Dysmorphogen
จะแสดงผลต่อทารกได้โดยขึ้นกับองค์ประกอบหลายอย่างเช่น
สารนั้นคืออะไร(Agent)
ได้รับเมื่อไร(Timing)
ขนาดที่ได้รับ (Dose)
ระยะเวลาที่สารนั้นอยู่ในร่างกายหรือมีปฏิกิริยาในร่างกาย (Duration)
Gene ลักษณะทางกรรมพันธุ์ที่ควบคุมหรือตอบสนองสิ่งนั้น
รังสี การใช้ยา สิ่งเเวดล้อมเป็นพิษ สภาพครอบครัว สภาพสังคม
วิกฤตการที่ทำให้เกิดความพิการต่อระยะต่าง ๆ ของทารก
2 สัปดาหืเเรกหลังจากปฏิสนธิ รุนเเรกมากในช่วงนี้ อาจพบการเเท้งได้อย่างรวดเร็ว
ระยะ 6 สัปดาห์ต่อมา ความรุนเเรงที่พบจะเกี่ยวกับความผิดปกติในรูปร่างหน้าที่ของอวัยวะนั้้นๆ
อีก 8 สัปดาห์ต่อมาความรุนเเรงจะลดลงกว่า 8 สัปดาห์เเรกมากเพราะอวัยวะต่างๆถูกสร้างสมบูรณ์เล้ว
ี