Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่3 เรื่องปัจจัยที่ส่งผลต่อภาวะสุขภาพของมารดาทารกในระยะตั้งครรภ์…
บทที่3 เรื่องปัจจัยที่ส่งผลต่อภาวะสุขภาพของมารดาทารกในระยะตั้งครรภ์ ระยะคลอด และระยะหลังคลอดปกติ
1.ปัจจัยส่วนบุคคลของมารดา
อายุ อายุของสตรีตั้งครรภ์จะเป็นตัวกำหนดขอบเขตพฤติกรรมการปฎิบัติตัวซึ่งคนที่มีวุฒิภาวะเป็นสิ่งที่ให้บุคคลสามารถปรับตัวได้และทนต่อการเปลี่ยนแปลงในขณะตั้งครรภ์
นำ้หนักตัวและส่วนสูง สตรีตั้งครรภ์ที่มีนำ้น้อย อาจจะส่งผลให้ทารกในครรภ์มีนำ้หนักน้อย อาจจะเกิดภาวะการเจริญเติบโตช้า
รายได้หรือฐานะทางเศรษฐกิจ คนที่มีรายได้มากหรือรายได้ปานกลางอาจจะมีพฤติกรรมการรับประทานหรือการใช้ชีวิตมั่นคงและดีได้เช่นการได้รับอาหารที่เพียงพอหรือการรับบริการได้อย่างเหมาะสม
สถานะภาพสมรถ มีความสำคัญในแง่การดูแลบุตรหรือการที่ได้คนดูแลเวลาตั้งครรภ์ เช่นการมีคนพาไปพบแพทย์ มีคนช่วยเหลือกิจกรรมเล็กๆน้อยๆ
อาชีพ อาจจะมีผลกับหญิงตั้งครรภ์ที่ทำงานเกี่ยวกับก่อสร้าง หรือสัมผัสกับสารเคมีก็ควรให้หญิงตั้งครรภ์หยุดทำงาน
ลำดับการตั้งครรภ์ คนที่เคยตั้งครรภ์มาก่อนจะมีทักษะหรือรู้ว่าอาการผิดปตติต่อเด็กเป็นอย่าวไรและรีบไปพบแพทย์แต่แตกต่างจากคนที่มีการตั้งครรภ์ในระยะแรกเพราะคนตั้งครรภ์ในระยะแรกอาจจะยังปรับตัวไม่ได้
จำนวน ครั้งที่คลด การคลอดครั้งแรกจะมีอัตราเสี่ยงอันตราย 2-3ครั้งอาจจะเกิดภาวะแทรกซ้อน แต่ถ้ามากกว่า4ครั้งขึ้นไปอัตรายมาก
ระยะห่างในการตั้งครรภ์ควรเว้นระยะตั้งครรภ์สัก2-3ปี
2.ความเชื่อ ค่านิยม และพฤติกรรม
ปัยจัยด้านความเชื่อ ค่านิยม ความสามรถในการรับรู้และความเชื่อ ปัจจัยทางด้านประเพณีเกี่ยวกับการตั้งครรภ์เช่นการกินอาหารที่ชาวบ้านบอกว่าคนท้องห้ามกินหรือกินได้
ความเชื่อในการตั้งครรภ์ การดื่มนำ้มะพร้าว จะทำให้ผิวพรรณดี ห้ามนอนหงาย เพราะรกจะติดเป็นต้น
ความเชื่อในระยะหลังคลอด เช่น การตัดสายสะดื้อที่ต้องเอาไม้ไผ่ตัด การอยู่ไฟ เป็นต้น
ความเชื่อในการดูแลทารกแรกเกิด เช่นหมอตำแยจะคว่ำหน้าเด็ก ใช้มือควักจมูกออกจากปากเพื่อป้องกันทารกสำลักนำ้คร่ำเป็นต้น
พฤติกรรมของสตรีตั้งครรภ์ เช่น 1.การดื่มสุรา อาจจะทำให้เด็กที่คลอดออกมามีโอกาศที่จะเกิดความผิดปกติบางอย่าง เช่น นำ้หนักน้อย ปากแหว่ง สมองเล็กกว่าแปกติ เป็นต้น
2.การสูบบุหรี่ถึงแม่มารดาจะไม่สูบแต่ควรหลีกเลี่ยงคนที่สูบบุหรีเพพราะมันอาจจะไปส่งผลต่อตัวเด็ก เช่นการทำให้การเจริญเติบโตในครรภ์ช้า อัตราการแท้งบุตรสูง เป็นต้น
3.การใช้สารเสพติด พบมาในสตรีตั้งครรภ์ที่มีอายุน้อยเพราะเนื่องจากฐานนะทางครอบครัว และไม่มีความรู้เกี่ยวกับการคุ้มกำเนิดที่ถูกต้อง
4.การใช้ยา ในระยะการตั้งครรภ์ เช่น 1.ระยะปฎิสนธิ เช่นการแท้ง 2.ระยะฝังตัว (1-2 สป) อาจจะทำให้เซลล์ลดลงทำให้แท้ง 3.ระยะสร้างอวัยวะต่างๆ ได้แก่พิการตั้งแต่กำเนิด เป็นโรคมะเร็ง
4.เดือนที่3 ถึงเดือนที่9 ผลต่อทารกได้แก่ทารกนำ้หนักตัวน้อย การเจริญขิงศรีษะผิดปกติ ระบบประสาทผิดปกติ
ยาที่อาจจะทำให้ทารกในครรภ์พิการ สตรีตั้งครรภ์ไม่ควรใช้ เช่น -ฮอร์โมนเพญฆญิง -สารปรอท -ยารักษาโรคลมชัก และยาที่อาจมีพิษหรือผลข้างเคียงต่อทารกในครรภ์ซึ่งไม่ควรใช้กับสตรีมีครรภ์หรือควรใช้ด้วยความระมัดระวัง เช่น -แอสไพรีน -ยาต้านการอักเสบ ที่ไม่ใช้สเตอรอยต์ -เตตราซัยคลิน ยาประเภทซัลฟา -คลอแรมเฟนิคอล -สเตปโตมัยซิน เป็นต้น
3.ปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม
1.มลพิษ ควรให้สตรีที่ตั้งครรภ์อยู่ห่างจากสารเคมีหรือพวกยาฆ่าแมลง ซึ่งมลพิษพวกนี้จะไปทำลายพัฒนาการทางสมองของทารก
2.สภาพครอบครัว สภาพครอบครัวที่แตกแยก หรือการตั้งครรภ์ที่ไม่พึ่งประสงค์อาจจะส่งผลต้อการพัฒนาด้านอารมณ์ของทารกในระยะยาว
3.ระบบบริการทางการแพทย์และสาธารณสุข เช่นการได้ร้บการเข้าถึงบริการได้ดีที่สุด
4.การเมืองการปกครอง ก็มีผลเช่น นโยบาย งบประมาณ ที่มีเป้าหมายการลดอัตราการตายของมารดา ทารก และเป็นการส่งเสริมดูแลมารดาทารกให้มีคุณภาพมากยิ่งขึ้น
โควิดกับหญิงตั้งครรภ์ ปัจจุบันไม่พบหลักฐานว่าสตรีมีครรภ์ที่ติดเชื้อโรคโควิด-19จะมีอาการและอาการแสดงแตกต่างจากคนทั่วไป
ระยะฝากครรภ์ในช่วงโควิด การนัดหมายตรวจครรภ์ ควรมีการปรับเปลี่ยนให้เหมาะสมโดยพิจารณาจากช่วงอายุครรภ์ ภาวะเสี่ยงของการตั้งครรภ์ และท่าจะไปโรงพยาบาลก็ควรป้องกันตัวเองให้ดีที่สุด
4.ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเจริญเตอบโตและพัฒนาการของทารกในครรภ์
-Teratogen ยาต่างๆรังสีการติดเชื้อและภาวะทุพโภชนาการ
วิกฤตการที่ทำให้เกิดความพิการต่อระยะต่างๆ เช่น 2 สัปดาห์แรกหลังจากปฏิสนธิ รุนแรงมากในช่วงพบการแท้ง -ระยะ6สัปดาความรุ่นแรงที่พบจะเกี่ยวกับความผิดปกติ -8สัปดาห์ต่อมาความรุ่นแรงจะลดลงกว่า8 สัปดาห์แรกมากเพราะอวัยวะสร้างสมบูรณ์แล้ว
รังสี อาจจะเกิดอัตรายต่อเด็กเช่นรังสี x-ray 8ควรหลีกเลี่ยง