Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ปัจจัยที่ส่งผลต่อภาวะสุขภาพของมารดาทารกในระยะตั้งครรภ์ ระยะคลอด…
ปัจจัยที่ส่งผลต่อภาวะสุขภาพของมารดาทารกในระยะตั้งครรภ์ ระยะคลอด และระยะหลังคลอดปกติ
ปัจจัยส่วนบุคคลของมารดา
อายุ
ในวัยผู้ใหญ่จะมีพฤติกรรมการปฏิบัติตนเพื่อคงไว้ซึ่งภาวะสุขภาพที่ดีกว่าสตรีตั้งครรภ์ที่เป็นวัยรุ่นเนื่องจากมีวุฒิภาวะมากกว่า ซึ่งวุฒิภาวะเป็นสิ่งที่ช่วยให้บุคคลสามารถปรับตัว และทนต่อการเปลี่ยนแปลงในขณะตั้งครรภ์
แตหากหญิงตั้งครรภ์มีอายุมาเกินไปอาจทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อนได้มากกว่าหญิงที่มีอายุน้อยตามเกณฑ์
น้ำหนักตัว และส่วนสูง
สตรีตั้งครรภ์ที่มีน้ำหนักตัวน้อย ทำให้ทารกในครรภ์เจริญเติบโตช้า
สตรีตั้งครรภ์ที่มีน้ำหนักมากเกินไป เสี่ยงต่อการคลอดยาก หรือการคลอดติดขัด
ระดับการศึกษา
บุคคลที่มีการศึกษาสูง มีความเข้าใจในสถานการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นได้ดี รู้จักใช้ความรู้และทักษะในการแก้ไขปัญหา
รายได้ หรือฐานะทางเศรษฐกิจ
สามารถจัดหาเครื่องใช้ต่างๆ เพื่ออำนวยความสะดวกได้
สถานภาพสมรส
โสด หม้าย หย่า หรือแยกกันอยู่กับสามี มักขาดคนดูแลและให้กำลังใจ ทำให้เกิดความเครียดได้ง่าย
อาชีพ
บางอาชีพทำให้เกิดความเสี่ยง
ลำดับที่ของการตั้งครรภ
สตรีตั้งครรภ์ที่เคยผ่านประสบการณ์การตั้งครรภ์มาแล้วสามารถรับสถานการณ์ได้ดีกว่า
สตรีตั้งครรภ์แรกยังไม่มีประสบการณ์เกี่ยวกับการตั้งครรภ์ อาจมีความสนใจค้นคว้าหาความรู้เรื่องการปฏิบัติได้้
จำนวนครั้งของการคลอด
ครั้งแรกและครั้งที่ 4 อาจอันตราย
ระยะห่างของการตั้งครรภ์
ระยะห่างของครรภ์ที่ปลอดภัยที่สุดประมาณ 2-4 ปี
ภาวะสุขภาพสตรีตั้งครรภ์
สตรีตั้งครรภ์ที่มีโรคประจำตัวเรื้อรัง หรือโรคทางพันธุกรรม
ความเชื่อ ค่านิยม และพฤติกรรมของมารดา
ปัจจัยด้านความเชื่อ ค่านิยม
ความเชื่อในระยะตั้งครรภ์
การดื่มน้ำมะพร้าวอ่อน ห้ามไปงานศพ เป็นต้น
ความสามารถในการรับรู้ และความเชื่อ ปัจจัยทางประเพณี
ความเชื่อในระยะคลอด
การตัดสายสะดือ คนโบราณใช้ผิวไม้รวก อาจให้ติเชิ้อได้
ความเชื่อในระยะหลังคลอด
การอยู่ไฟหลังคลอด
พฤติกรรมของสตรีตั้งครรภ์
การดื่มสุรา
ความสามารถในการดูด้อยกว่าปกติ
ทารกร้องกวนและโยเยง่าย
สติปัญญาทารกต่ำกว่าปกติ
การสูบบุหรี่
การเจริญเติบโตของทารกในครรภ์ช้า
อัตราการแท้งบุตรสูง
การใช้สารเสพติด
ระยะปฏิสนธิ
แท้งง่าย
ระยะฝังตัว
่เซลล์ลดลงทำให้แท้ง
ระยะสร้างอวัยวะต่างๆ
พิการแต่กำเนิด
ปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม
มลพิษ
จะมีฤทธิ์ทำลายพัฒนาการทางสมองของทารกในครรภ์โดยจะผ่านไปยังรก
สภาพครอบครัว
สภาพครอบครัวที่แตกแยกส่งผลต่อการพัฒนาด้านอารมณ์ของทารกในระยะยาว
ระบบบริการทางการแพทย์และสาธารณสุข
มีผลต่อการดูแลสุขภาพด้านอนามัยแม่และเด็ก
การเมืองการปกครอง
นโยบาย งบประมาณส่งเสริมการดูแลมารตาและทารกให้มีคุณภาพมากยิ่งขึ้น
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการของทารกในครรภ์
รังสี
อาจอันตรายต่อทารกในครรภ์ เช่น เกิดมะเร็งในเม็ดเลือดขาว
วิกฤตการที่ทำให้เกิดความพิการ รุนแรงมากในช่วง 2สัปดาห์แรก หลังจากปฏิสนธิซึ่งอาจพบการแท้งได้อย่างรวดเร็ว ระยะ 6สัปดาห์ต่อมา
การใช้ยา
สิ่งแวดล้อมเป็นพิษ
นางสาวญาดา จงสวัสดิ์ เลขที่18 ชั้นปีที่2 รหัสนักศึกษา 62126301020