Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสุขภาพของมารดาทารกในระยะตั้งครรภ์ ระยะคลอด…
ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสุขภาพของมารดาทารกในระยะตั้งครรภ์
ระยะคลอด และระยะหลังคลอดปกติ
1. ปัจจัยส่วนบุคคลของมารดา
5. สถานภาพสมรม
หญิงตั้งครรภ์ที่เป็นโสด หม้าย หย่าร้าง มักขาดคนดูแล กำลังใจ และความช่วยเหลือ
6. อาชีพ
งานที่ทำต้องไม่หนักเกินไป ไม่ทำให้เหนื่อย และไม่นานต่อเนื่อง หรือสัมผัสกับสารเคมี
4. รายได้ หรือฐานะทางเศรษฐกิจ
หากรายได้สูงจะเอื้ออำนวยให้มีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพที่ดี อาหารเพียงพอ ได้รับบริการเหมาะสม
7. ลำดับที่ของการตั้งครรภ์
หากผ่านการตั้งครรภ์มาก่อนแล้ว จะควบคุมอารมณ์ ควบคุมสถานการณ์ได้ดี แต่หากยังไม่มีประสบการณ์ มักจะสนใจหาข้อมูลจากแหล่งต่างๆ
3. ระดับการศึกษา
การศึกษาสูงจะทำห่เกิดความตระหนักในปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับปัญหา เข้าใจในสถานการรืต่างๆได้ดี มีความรู้ทักษะการแก้ปัญหา
8. จำนวนครั้งของการคลอด
การคลออดครั้งแรกเสี่ยงอันตรายมากกว่าครั้งที่ 2 3 แต่การคลอดมากกว่า 4 ครั้งอาจทำให้เสี่ยงสูงขึ้นอีก และอาจเกิดภาวะแทรกซ้อน
2. น้ำหนักตัว และส่วนสูง
หญิงตั้งครรภ์ที่มีอายุน้อย อาจส่งผลให้ทารกมีน้ำหนักน้อยตามไปด้วย เเลเติบโตช้า
9. ระยะห่างของการตั้งครรภ์
ถ้าระยะห่างน้อยกว่า 2ปี อันตรายจะเสี่ยงเป็น 3 เท่าของการตั้งครรภ์ เนื่องจากมีความถี่เกินไป จึงควรห่างประมาณ 2-4 ปี
1. อายุ
วัยผู้ใหญ่จะสามารถดูแลสุขภาพตนเองได้ดีกว่าในวัยรุ่นเนื่องจากวุฒิภาวะที่มากกว่า สติปัญญาการรับรู้ ความพร้อมด้านร่างกาย จิตใจ แต่วัยรุ่นจะสามารถจะมีโอกาสเสี่ยงต่ออันตรายน้อยกว่าวัยผู้ใหญ่ที่อายุมาก จึงทำให้วัยผู้ใหญ่ เป็นวัยที่ตระหนักกับภาวะสุขภาพมากกว่า
10. ภาวะสุขภาพสตรีตั้งครรภ์
หญิงตั้งครรภ์ที่มีโรคประจำตัวเรื้อรัง อาจทำให้ทารกพิการ หรือเสียชีวิตได้
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการของทารกในครรภ์
สิ่งแวดล้อมเป็นพิษ
สารพิษจากการกำจัดวัชพืช กำจัดแมลง
จะเข้าสู่ หญิงตั้งครรภ์ ผ่านไปรก
สภาพครอบครัว
หญิงตั้งครรภ์ที่อยู่ในสภาพครอบครัวที่ดี อบอุ่น จะทำให้มีสุขภาพจิตดี แข็งแรง ทารกที่เกิดออกมาก็จะแข็งแรงตามไปด้วย
การใช้ยา
ส่งผลต่อทารก ระบบไหลเวียน เลือดไปเลี้ยงทารก มีผลต่อกล้ามเนื้อมดลูก มีผลต่อพัฒนาการทารก อาจพิการได้
สภาพสังคม
หญิงตั้งครรภ์ที่เลี้ยงดูทารกในสภาพแวดล้อมที่ดี จะส่งผลต่อการเจริญเติบโต มีชีวิตที่ดี และโตมาแล้วไม่เป็นปัญหาสังคม
รังสี
เป็นอันตรายต่อทารกในครรภ์ เช่นเกิดมะเร็งเม็ดเลือดขาว
3. ปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม
สภาพครอบครัว
สภาพครอบครัวแตกแยก หรือการตั้งครรภ์โดยไม่พึงประสงค์ ส่งผลให้สตรีเกิดความเครียด ดูแลตนเองได้ลดลง ส่งผลต่อพัฒนาการด้านอารมณ์ในระยะยาว
มลพิษ
PM 2.5
COVID-19
การเมือง การปกครอง
นโยบาย งบประมาณ ตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ มีเป้าหมาย ลดการตายของทารก ส่งเสริมการดูแลมารดาและทารกให้มีคุณภาพมากยิ่งขึ้น
ระบบบริการทางการแพทย์
สถานบริการที่อยู่ใกล้ มีเครื่องมือทันสมัย จะมีผลต่อการดูแลอนามัยแม่เเละเด็ก
2. ความเชื่อ ค่านิยม และพฤติกรรมของมารดา
1. ปัจจัยด้านความเชื่อ ค่านิยม
ความเชื่อระยะคลอด
การตัดสายสะดือ โดยใช้ผิวไม้รวก ซึ่งเสี่ยงต่อการติดเชื้อ บาดทะยัก
ความเชื่อระยะหลังคลอด
การอยู่ไฟหลังคลอด ให้ความอบอุ่น บรรเทาปวด
ความเชื่อในระยะตั้งครรภ์
ห้ามไปงานศพ เชื่อว่าจะมีวิญญาณร้ายตามมา แตความจริงเป็นเรื่องของจิตใจ อาจทำให้รู้สึกหดหู่
ห้ามรับระทานกล้วยน้ำว้า เพราะทำให้คลอดยาก นั่นเพราะกล้วยน้ำว้ามีน้ำตาลมาก อาจทำให้ทารกตัวโต
ห้ามนอนหงายในหญิงตั้งครรภ์ท้องแก่ เพราะรกจะติดหลังทำให้คลอดไม่ได้ แต่ความจริงคืออาจกดทับเส้นเลือดดำใหญ่ ทำให้ความดันโลหิตต่ำ เลือดไหลเวียนไปเลี้ยงมดลูกได้น้อยลง
ห้ามรับประทานเนื้อวัว เพราะทำให้มีไขมันตามตัวทารกมาก แต่ความจริงคือเนื้อวัวย่อยยาก ไม่แนะนำ
การดื่มน้ำมะพร้าว จะทำให้ทารกมีผิวดี ไม่มีไขมันติดตามตัวเวลาคลอด แต่การมีไขมันตามตัว จะช่วยควบคุมอุณหภูมิทารก ไม่ให้ต่ำเกินไป
ห้ามนั่งขวางบันได เพราะทำให้คลอดยาก แต่ความจริงคือเพื่อลดอุบัติเหตุ
ความเชื่อในการดูแลทารกแรกเกิด
แรกคลอดหมอตำแยจะจับทารกคว่ำ ใช้มือควักมูกออกจากปาก ป้อกันทารกสำลักน้ำคร่ำ ถ้าทารกไม่ร้องก็จะตี ใช้น้ำมะพร้าวเช็ดไขมันออก
2. พฤติกรรมของสตรีตั้งครรภ์
การสูบบุหรี่
ส่งผลต่อทารก เติบโตในครรภ์ช้า อาจแท้ง คลอดก่อนกำหนด ตายระหว่างคลอด น้ำหนักน้อยกว่าปกติ หายใจผิดปกติ สูงกว่าเด็กปกติ
การใช้สารเสพติด
ส่งผลต่อมารดา ในการคุมกำเนิด ยากจน ปัญหาครอบครัว ใช้ยาเสพติดสูง
การดื่มสุรา
ส่งผลต่อทารก น้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ ปากแหว่งเพดานโหว่ สมองเล็กกว่าปกติ หัวใจผิดปกติโดยกำเนิด การเจริญแขน ขาผิดปกติ ร้องกวนโยเย แคระแกรน หลับยาก สติปัญญาต่ำ
การใช้ยา
ส่งผลข้างเคียงหลายอย่างในทารก แท้ง พิการแต่กำเนิด น้ำหนักน้อย การเจริญของศีรษะผิดปกติ