Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ปัจจัยที่ส่งผลต่อภาวะสุขภาพของมารดาทารกในระยะตั้งครรภ์ ระยะคลอด…
ปัจจัยที่ส่งผลต่อภาวะสุขภาพของมารดาทารกในระยะตั้งครรภ์ ระยะคลอด และระยะหลัง
ปัจจัยส่วนบุคคลของมารดา
น้ำหนักตัว และส่วนสูง
น้ำหนักตัวน้อย อาจส่งผลให้ทารกในครรภ์มีน้ำหนักน้อย และเกิดภาวะ
เจริญเติบโตช้าในครรภ์
น้ำหนักมากเกินไป (มากกว่า 80 กิโลกรัม) มีโอกาสเสี่ยงต่อการคลอดยาก หรือการคลอดติดขัด
มีส่วนสูงต่ำกว่า 145 เซนติเมตร มีโอกาสเสี่ยงต่อการคลอดติดขัด เนื่องจากขนาดของทารกไม่สัมพันธ์กับเชิงกรานมารกา
ระดับการศึกษา
บุคคลที่มีการศึกษาสูงจะตระหนักถึงปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับปัญหา มีความเข้าใจในสถานการณ์ต่างๆ รู้จักใช้ความรู้และทักษะในการแก้ไขปัญหา และยังพบว่าการศึกษาจะช่วยทำให้บุคคลมีความเข้าใจในเรื่องสุขภาพอนามัยดีขึ้น
อายุ
อายุของสตรีตั้งครรภ์จะเป็นตัวกำหนดขอบเขตของพฤติกรรมการปฏิบัติตน
ในวัยผู้ใหญ่จะมีพฤติกรรมการปฏิบัติตนเพื่อคงไว้ซึ่งภาวะสุขภาพที่ดีกว่าสตรีตั้งครรภ์ที่เป็นวัยรุ่นเนื่องจากมีวุฒิภาวะมากกว่า
แต่การที่มีอายุที่มากในขณะตั้งครรภ์ (มากกว่า 35 ปี) ทำให้มีโอกาสเสี่ยงต่ออันตรายหรือความผิดปกติได้มากกว่า
การตั้งครรภ์ที่เกิดกับสตรีตั้งครรภ์ที่ยังไม่บรรลุวุฒิภาวะ หรือมีอายุน้อย (น้อยกว่า 16 ปี) ย่อมเกิดปัญหาได้มากมาย ทั้งด้านการเจริญเติบโตของร่างกายยังไม่สมบูรณ์เต็มที่ อาจทำให้การคลอดเป็นไปอย่างลำบาก
รายได้ หรือฐานะทางเศรษฐกิจ
สตรีตั้งครรภ์ที่มีรายได้สูงจะเอื้ออำนวยให้มีพฤติกรรมการปฏิบัติตน เพื่อคงไว้ซึ่งภาวะสุขภาพที่ดีได้ โดยได้รับอาหารที่เพียงพอ ตลอดจนเข้าถึงบริการได้อย่างเหมาะสม
สถานภาพสมรส
สตรีตั้งครรภ์ที่เป็นโสด หม้าย หย่า หรือแยกกันอยู่กับสามี มักขาดคนดูแลและให้กำลังใจ และสตรีตั้งครรภ์ที่มีสามีจะได้รับการช่วยเหลือจากสาม
อาชีพ
ถึงแม้ว่าจะไม่มีข้อห้ามสำหรับสตรีตั้งครรภ์ในเรื่องการทำงาน แต่งานที่ทำต้องไม่เป็นงานที่ก่อให้เกิดความเหนื่อยล้ามากเกินไป หรืองานที่ต้องทำต่อเนื่องกันเป็นเวลานาน หรืองานที่ต้องสัมผัสกับสารเคมีหรือสารพิษ
7.ลำดับที่ของการตั้งครรภ์
สตรีตั้งครรภ์ที่เคยผ่านประสบการณ์การตั้งครรภ์มาแล้ว จะสามารถควบคุมอารมณ์และสถานการณ์ได้ดีส่วนสตรีตั้งครรภ์แรกที่ยังไม่มีประสบการณ์เกี่ยวกับการตั้งครรภ์และการคลอด
จำนวนครั้งของการคลอด
การคลอดครั้งแรกจะมีอัตราเสี่ยงอันตราย ก่อให้เกิดภาวะแทรกซ้อนมากกว่าการคลอดครั้งที่ 2-3 แต่ถ้ามีการคลอดมากกว่า 4 ครั้ง ก็จะทำให้อัตราเสี่ยงสูงขึ้นอีก
ระยะห่างของการตั้งครรภ์
ถ้าระยะห่างระหว่างการตั้งครรภ์น้อยกว่า 2 ปี จะมีอัตราเสี่ยงสูงเป็น 3 เท่า ของการตั้งครรภ์ห่างกัน 3 ปี เนื่องจากการตั้งครรภ์และคลอดที่ถี่เกินไป จะทำให้สุขภาพของมารดาหลังคลอดเสื่อมโทรมล
ภาวะสุขภาพสตรีตั้งครรภ์
สตรีตั้งครรภ์ที่มีโรคประจำตัวเรื้อรัง เช่น หัวใจ เบาหวาน ความดันโลหิตสูง หรือโรคทางพันธุกรรม เป็นสาเหตุที่สำคัญอย่างหนึ่ง ที่ทำให้ทารกแรกเกิดมีความพิการแต่กำเนิด
ความเชื่อ ค่านิยม และพฤติกรรมของมารดา
ปัจจัยด้านความเชื่อ ค่านิยม
ความเชื่อในระยะคลอด
การตัดสายสะดือ คนโบราณใช้ผิวไม้รวก (ไม้ไผ่) ตัดสายสะดือ โดยวางสายสะดือบนไพล ก้อนถ่าน หรืออื่นๆ แล้วใช้ผิวไม้รวกตัด
ความเชื่อในระยะหลังคลอด
การอยู่ไฟหลังคลอด จากความเชื่อว่าความร้อนจากการอยู่ไฟจะให้ความอบอุ่นทางด้านจิตใจตลอดจนบรรเทาความเจ็บปวดลงได้
ความเชื่อในระยะตั้งครรภ์
ห้ามนั่งขวางบันได มีความเชื่อว่าสตรีตั้งครรภ์อย่านั่งขวางบันได เพราะจะทำให้คลอดยาก
ห้ามรับประทานเนื้อวัว เพราะเชื่อว่าจะทำให้ทารกมีไขมันติดตามตัวมาก
ห้ามรับประทานกล้วยน้ำว้า มีความเชื่อว่าจะทำให้คลอดยาก
ห้ามไปงานศพ ความเชื่อเรื่องนี้ปรากฏอยู่ในทุกท้องถิ่น โดยส่วนใหญ่เชื่อว่าจะทำให้วิญญาณร้ายติดตามมา
ห้ามนอนหงาย เพราะรกจะติดหลังทำให้คลอดไม่ได้
ความเชื่อในการดูแลทารกแรกเกิด
เมื่อทากรกคลอดแล้วหมอตำแยจะจับทารกคว่ำหน้า ใช้มือควักมูกออกจากปาก เพื่อป้องกันทารกสำลักน้ำคร่ำ บางคนใช้น้ำมันมะพร้าวอ่อนเช็ดไขมันออก
2.พฤติกรรมของสตรีตั้งครรภ์
การสูบบุหรี
การเจริญเติบโตของทารกในครรภ์ช้า
ทารกที่คลอดออกมามีน้ำหนักน้อยกว่าปกต
การใช้สารเสพติด ในปัจจุบันพบว่ามีการใช้สารเสพติดมากขึ้นในสตรีที่มีอายุน้อยมีปัญหาครอบครัว ยากจน และไม่มีความรู้เกี่ยวกับการคุมกำเนิดที่ถูกต้อง
การดื่มสุรา
ปากแหว่ง เพดานโหว่ ดวงตาและกรามมีขนาดเล็กกว่าปกต
สมองเล็กกว่าปกติ
น้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ปกต
การใช้ยา
2.ระยะฝังตัว (1-2 สัปดาห์แรก) ผลต่อทารกในครรภ์ที่พบบ่อย ได้แก่เซลล์ลดลงทำให้แท้ง
3.ระยะสร้างอวัยวะต่างๆ ผลต่อทารกในครรภ์ที่พบบ่อย ได้แก่พิการแต่กำเนิด พบโรคมะเร็งในภายหลังทารกในครรภ์เจริญเติบโตช้า
1.ระยะปฏิสนธิผลต่อทารกในครรภ์ที่พบบ่อย ได้แก่ แท้ง
4.เดือนที่ 3 ถึงเดือนที่ 9 ผลต่อทารกในครรภ์ที่พบบ่อย ได้แก่ ทารกน้ำหนักตัวน้อย การเจริญของศีรษะผิดปกติระบบประสาทผิดปกติอวัยวะเพศภายนอกผิดปกต
ปัจจัยสิ่งแวดล้อม
สภาพครอบครัว
สภาพครอบครัวที่แตกแยก หรือการตั้งครรภ์ที่ไม่พึงประสงค์ จะส่งผลให้สตรีตั้งครรภ์เกิดความเครียด ทำให้ความสามารถในการดูแลตนเองลดลง และส่งผลต่อการพัฒนาด้านอารมณ์ของทารกในระยะยาว
ระบบบริการทางการแพทย์และสาธารณสุข
โอกาสของสตรีตั้งครรภ์ในการเข้าถึงบริการทางการแพทย์ และสถานบริการสาธารณสุขที่อยู่
ใกล้เคียงมีเครื่องมือทันสมัย จะมีผลต่อการดูแลสุขภาพด้านอนามัยแม่และเด็ก
มลพิษ
สตรีตั้งครรภ์ที่อยู่ในสิ่งแวดล้อมที่เป็นพิษ เช่น Sulferdioxide Carbon monoxide ยาฆ่าแมลง สารเคมีที่เหลือจากโรงงานอุตสาหกรรม สารปรอท จะมีฤทธิ์ทำลายพัฒนาการทางสมองของทารก
ในครรภ์โดยจะผ่านไปยังรก
การเมืองการปกครอง
นโยบาย งบประมาร ตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ที่มีเป้าหมายการลดอัตรา
การตายของมารดา ทารก เป็นการส่งเสริมการดูแลมารตาและทารกให้มีคุณภาพมากยิ่งขึ้น
โควิด - 19 กับหญิงตั้งครรภ์
ระยะฝากครรภ์
การนัดหมายตรวจครรภ์ ควรมีการปรับตามความเหมาะสมจากช่วงอายุครรภ์ ภาวะเสี่ยงของการตั้งครรภ์ เพื่อจำเป็นต้องพบแพทย์ ควรนัดเวลาล่วงหน้าเพื่อลดระยะเวลาในการอยู๋โรงพยาบาลให้น้อยที่สุด
ระยะหลังคลอด
หากคุณแม่ไม่มีความผิดปกติแต่อย่างใดๆ ทางโรงพยาบาลมักนัดตรวจเมื่อ 6 สัปดาห์หลังคลอด หากมีอาการผิดปกติควรนัดมาโรงพยาบาล
การเลี้ยงลูกกด้วยนมแม่
แม่ติดเชื้ออาการไม่มากสามารถให้ลูกกินนมจากเต้าได้ ยกเว้นช่วงที่มีไข้ ควรบีบน้ำนมทิ้ง
ควรละเว้นการหอมแก้ม การใช้แม่สัมผัสหน้า
แม่มีอาการรุนแรงแนะนำให้งดนมบุตร ช่วงนี้อาจบีบน้ำนมทิ้งไปก่อน เพื่อให้แม่คงสภาพที่สมารถให้นมลูกได้เมื่ออาการดีขึ้น
คำแนะนำการให้นมบุตร
ล้างมือด้วยน้ำและสบู่นานอย่าน้อย 20 วินาที
ใส่หน้ากากอนามัยตลอดเวลา ทั้งก่อน ระหว่าง และหลัง การให้นมหรือการบีบเก็บน้ำนม
เช็คทำความสะอาดบริเวณเต้านมและหัวนมด้วยน้ำและสบู๋
หลังการใช้เครื่องปั๊มนมต้องทำความสะอาดอุปกรณ์จากนั้นนึ่งหรือต้มเพื่อการฆ่าเชื้อโณค
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการของทารกในครรภ์
รังสี
การได้รับรังสีอาจเกิดอันตรายต่อทารกในครรภ์ได้เช่น ในรายที่ขณะตั้งครรภ์มีความจำเป็นต้องฉายรังสี X- ray ในการตรวจสภาพปอดหรือฉายรังสีX-ray ในการตรวจสภาพของเชิงกราน หรือการตรวจสอบด้วยรังสี โดยไม่ทราบว่าตั้งครรภ์ หรือระยะแรกของการตั้งครรภ์ จะมีอันตรายต่อทารกในครรภ์ เช่น เกิดมะเร็งในเม็ดเลือดขาว
นางสาวภควดี ลาวทองเลขที่ 52 รหัสนักศึกษา 62126301054