Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ปัจจัยที่ส่งผลต่อภาวะสุขภาพของมารดาทารกในระยะตั้งครรภ์ ระยะคลอด…
ปัจจัยที่ส่งผลต่อภาวะสุขภาพของมารดาทารกในระยะตั้งครรภ์ ระยะคลอด และระยะหลังคลอดปกติ
ปัจจัยส่วนบุคคลของมารดา
อายุ
อายุของสตรีตั้งครรภ์จะเป็นตัวกำหนดขอบเขตของพฤติกรรมการปฏิบัติตน เพื่อคงไว้ซึ่งภาวะสุขภาพ ในวัยผู้ใหญ่จะมีพฤติกรรมการปฏิบัติตนนเพื่อคงไว้ซึ่งภาวะสุขภาพที่ดีกว่าสตรีตั้งครรภ์ที่เป็นวัยรุ่นเนื่องจากมีวุฒิภาวะมากกว่า
น้ำหนักตัว และส่วนสูง
สตรีตั้งครรภ์ที่มีน้ำหนักตัวน้อย อาจส่งผลให้ทารกในครรภ์มีน้ำหนักน้อยและเกิดภาวะเจริญเติบโตช้าในครรภ์ ส่วนสตรีตั้งครรภ์ที่มีน้ำหนักมากเกินไป(มากกว่า 80 กิโลกรัม) มีโอกาสเสี่ยงต่อการคลอดยาก หรือการคลอดติดขัด
ระดับการศึกษา
บุคคลที่มีการศึกษาสูงจะตระหนักถึงปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับปัญหา มีความเข้าใจในสถานการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นได้ดี รู้จักใช้ความรู้และทักษะในการแก้ไขปัญหา
รายได้ หรือฐานะทางเศรษฐกิจ
สตรีตั้งครรภ์ที่มีรายได้สูงจะเอื้ออำนวยให้มีพฤติกรรมการปฏิบัติตน เพื่อคงไว้ซึ่งภาวะสุขภาพที่ดีได้ โดยได้รับอาหารที่เพียงพอ ตลอดจนเข้าถึงบริการได้อย่างเหมาะสม
สถานภาพสมรส
มีความสำคัญในแง่ของการได้รับการสนับสนุนให้มีพฤติกรรมปฏิบัติเพื่อคงไว้ซึ่งภาวะสุขภาพ
สตรีตั้งครรภ์ที่เป็นโสด หม้าย หย่า หรือแยกกันอยู่กับสามี มักขาดคนดูแลและให้กำลังใจ
สตรีตั้งครรภ์ที่มีสามีจะได้รับการช่วยเหลือจากสามี โดยสามีจะเป็นผู้คอยให้กำลังใจให้ความช่วยเหลือในขณะตั้งครรภ์ ไปจนถึงระยะหลังคลอด
อาชีพ
งานที่ทำต้องไม่เป็นงานที่ก่อให้เกิดความเหนื่อยล้ามากเกินไป หรืองานที่ต้องทำต่อเนื่องกันเป็นเวลานานหรืองานที่ต้องสัมผัสกับสารเคมีหรือสารพิษ เพราะลักษณะงานเหล่านี้ทำให้สตรีตั้งครรภ์มีความเสี่ยงต่ออันตรายที่จะเกิดขึ้นกับทั้งตนเองและทารกในครรภ์เพิ่มขึ้น
7.ลำดับที่ของการตั้งครรภ์
สตรีตั้งครรภ์ที่เคยผ่านประสบการณ์การตั้งครรภ์มาแล้ว จะสามารถควบคุมอารมณ์และสถานการณ์ได้ดี
จำนวนครั้งของการคลอด
การคลอดครั้งแรกจะมีอัตราเสี่ยงอันตราย ก่อให้เกิดภาวะแทรกซ้อนมากกว่าการคลอดครั้งที่ 2
ระยะห่างของการตั้งครรภ์
ถ้าระยะห่างระหว่างการตั้งครรภ์น้อยกว่า 2 ปี จะมีอัตราเสี่ยงสูงเป็น 3 เท่า ของการตั้งครรภ์ห่างกัน 3 ปี เนื่องจากการตั้งครรภ์และคลอดที่ถี่เกินไป
ภาวะสุขภาพสตรีตั้งครรภ์
สตรีตั้งครรภ์ที่มีโรคประจำตัวเรื้อรังเป็นสาเหตุที่สำคัญอย่าง
หนึ่ง ที่ทำให้ทารกแรกเกิดมีความพิการแต่กำเนิด
ความเชื่อ ค่านิยม และพฤติกรรมของมารดา
ปัจจัยด้านความเชื่อ ค่านิยม
1.1 ความเชื่อในระยะตั้งครรภ์
การดื่มน้ำมะพร้าวอ่อน จะทำให้ทารกมีผิวพรรณด
ห้ามไปงานศพ ความเชื่อเรื่องนี้ปรากฏอยู่ในทุก
ท้องถิ่น โดยส่วนใหญ่เชื่อว่าจะทำให้วิญญาณร้ายติดตามมา
ห้ามนอนหงาย เพราะรกจะติดหลังทำให้คลอดไม่ได้
ห้ามรับประทานกล้วยน้ำว้า มีความเชื่อว่าจะทำให้คลอดยาก
ห้ามรับประทานเนื้อวัว เพราะเชื่อว่าจะทำให้ทารกมีไขมันติดตามตัวมาก
ห้ามนั่งขวางบันได มีความเชื่อว่าสตรีตั้งครรภ์อย่านั่งขวางบันได
เพราะจะทำให้คลอดยาก
1.2 ความเชื่อในระยะคลอด
การตัดสายสะดือคนโบราณใช้ผิวไม้รวก (ไม้ไผ่) ตัดสายสะดือึ่งวิธีนี้นับเป็นสาเหตุของการติดเชื้อในทารกแรกเกิดที่พบบ่อย คือโรคบาดทะยัก
1.3 ความเชื่อในระยะหลังคลอด
การอยู่ไฟหลังคลอด จากความเชื่อว่าความร้อนจากการอยู่ไฟ
จะให้ความอบอุ่นทางด้านจิตใจตลอดจนบรรเทาความเจ็บปวดลงได
1.4 ความเชื่อในการดูแลทารกแรกเกิด
เมื่อทากรกคลอดแล้วหมอตำแยจะจับทารกคว่ำหน้า
ใช้มือควักมูกออกจากปาก เพื่อป้องกันทารกสำลักน้ำคร่ำ
บางคนใช้น้ำมันมะพร้าวอ่อนเช็ดไขมันออก
น้ำนมมารดาจะยังไม่ไหล และระยะแรก ๆ ทารกจะถ่ายขี้เทาดังนั้น ช่วงนี้จึงหยอดน้ำให้ทารกไปก่อน บางแห่งใช้น้ำผสมน้ำผึ้ง
เนื่องจากคงเชื่อว่าช่วยขับขี้เทาออกมา
2.พฤติกรรมของสตรีตั้งครรภ์
2.1 การดื่มสุรา
น้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ปกติ
ปากแหว่ง เพดานโหว่ ดวงตาและกรามมีขนาดเล็กกว่าปกต
สมองเล็กกว่าปกต
หัวใจผิดปกติโดยกำเนิด
การเจริญเติบโตของแขนและขาผิดปกติ
2.2 การสูบบุหรี
การเจริญเติบโตของทารกในครรภ์ช้า
อัตราการแท้งบุตร การคลอดก่อนกำหนด
และทารกตายระหว่างคลอดสูงขึ้น
ทารกที่คลอดออกมามีภาวการณ์หายใจผิดปกติสูงกว่าธรรมดา
เนื่องจากปอดของเด็ก
2.3 การใช้สารเสพติด
ในปัจจุบันพบว่ามีการใช้สารเสพติดมากขึ้นในสตรีที่มีอายุน้อยมีปัญหา
ครอบครัว ยากจน และไม่มีความรู้เกี่ยวกับการคุมกำเนิดที่ถูกต้อง
2.4 การใช้ยา
1.ระยะปฏิสนธิผลต่อทารกในครรภ์ที่พบบ่อย ได้แก่ แท้ง
2.ระยะฝังตัว (1-2 สัปดาห์แรก) ผลต่อทารกในครรภ์ที่พบบ่อย
ได้แก่เซลล์ลดลงทำให้แท้ง
3.ระยะสร้างอวัยวะต่างๆ ผลต่อทารกในครรภ์ที่พบบ่อย ได้แก่พิการแต่กำเนิด พบโรคมะเร็งในภายหลังทารกในครรภ์เจริญเติบโตช้า
4.เดือนที่ 3 ถึงเดือนที่ 9 ผลต่อทารกในครรภ์ที่พบบ่อย ได้แก่ ทารกน้ำหนักตัวน้อย การเจริญของศีรษะผิดปกติระบบประสาทผิดปกติอวัยวะเพศภายนอกผิดปกติ
3 ปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม
1.มลพิษ
การระบาดของโรคโควิด-19
อาการและอาการแสดง
อุณหภูมิร่างกายตั้งแต่ 37.5 องศาเซลเซียสขึ้นไป หรือให้ประวัติว่ามีไข้ในการป่วยครั้งนี้ร่วมกับมีอาการของระบบทางเดินหายใจอย่างใดอย่างหนึ่ง ดังต่อไปนี้ ไอ น้ามูก เจ็บคอ หายใจติดขัดหรือหายใจลาบาก
ผู้ป่วยโรคปอดอักเสบร่วมกับ การมีประวัติในช่วงเวลา 14 วันก่อนวันเริ่มป่วย อย่างใดอย่างหนึ่งต่อไปน
มีประวัติเดินทางไปยัง หรือ มาจาก หรืออยู่อาศัยในพื้นที่ที่มีรายงานการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
มีผู้ที่อยู่อาศัยร่วมบ้านเดินทางกลับมาจากพื้นที่ที่มีรายงานการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
เป็นผู้ที่ประกอบอาชีพที่สัมผัสใกล้ชิดกับนักท่องเที่ยวต่างชาต
มีประวัติใกล้ชิดหรือสัมผัสกับผู้ป่วยเข้าข่ายหรือยืนยันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
เป็นบุคลากรทางการแพทย์หรือสาธารณสุข ที่สัมผัสกับผู้ป่วยเข้าเกณฑ์สอบสวนโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
การดูแลสตรีตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อโรคโควิด-19
การดูแลที่คลินิกฝากครรภ์ สตรีตั้งครรภ์ที่ไม่มีอาการหรืออาการน้อย ควรเลื่อนนัดเพื่อมาฝากครรภ์ ตรวจคลื่นเสียงความถี่สูง หรือตรวจคัดกรองเบาหวานไปจนกว่าจะพ้นช่วงกาหนดเวลากักตัว
สภาพครอบครัว
สภาพครอบครัวที่แตกแยก หรือการตั้งครรภ์ที่ไม่พึงประสงค์จะส่งผลให้สตรีตั้งครรภ์เกิดความเครียด ทำให้ความสามารถในการดูแลตนเองลดลงและส่งผลต่อการพัฒนาด้านอารมณ์ของทารกในระยะยาว
ระบบบริการทางการแพทย์และสาธารณสุข
โอกาสของสตรีตั้งครรภ์ในการเข้าถึงบริการทางการแพทย์และสถานบริการสาธารณสุขที่อยู่ใกล้เคียงมีเครื่องมือทันสมัย จะมีผลต่อการดูแลสุขภาพด้านอนามัยแม่และเด็ก
การเมืองการปกครอง
นโยบาย งบประมาร ตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ที่มีเป้าหมายการลดอัตราการตายของมารดา ทารก เป็นการส่งเสริมการดูแลมารตาและทารกให้มีคุณภาพมากยิ่งขึ้น
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเจริญเติบโต
และพัฒนาการของทารกในครรภ์
1.รังสี
การได้รับรังสีจะเป็นอันตรายต่อทารกในครรภ์
เช่น เกิดมะเร็งในเม็ดเลือดขาว
การใช้ยา
ผลของยาที่มีผลต่อทารกในครรภ์
1.ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในระบบการไหลเวียนของมารดา ซึงมีผลโดยตรงต่อเลือดที่ไปเลี้ยงมดลูกและทารก
2.มีผลโดยตรงต่อกล้ามเนื้อมดลูกและการทำงานของมดลูก
3.มีผลต่อพัฒนาการของทารก จึงทำให้เกิดความพิการได้
สิ่งแวดล้อมเป็นพิษ
สิ่งแวดล้อมที่ทำให้เกิดสารพิษ เช่น Sulferdioxide Carbonmonoxide พิษจากยากำจัดวัชพืชศัตรูพืช ยาฆ่าแมลง รวมทั้งสารเคมีต่าง ๆ ที่เหลือจากโรงงานอุตสาหกรรม สารปรอท สารเหล่านี้เมื่อผ่าน
เข้าไปในหญิงมีครรภ์จะผ่านไปยังรก
สภาพครอบครัว
การที่หญิงตั้งครรภ์ได้อยู่ในสภาพครอบครัวที่มีสัมพันธภาพอบอุ่นจะมีสุขภาพจิตที่แข็งแรงและสมบูรณ์ ก็จะส่งผลต่อมารดาและพัฒนาการทางด้านอารมณ์ของทารกให้ดีขึ้นได้
แต่ถ้าหญิงตั้งครรภ์ได้อยู่ในสภาพครอบครัวที่มีสัมพันธภาพที่ไม่ดีครอบครัวขาดความอบอุ่นไม่มีการทำกิจกรรมร่วมกันในครอบครัว ครอบครัวแตกแยก ยากจน หย่าล้าง แยกทางกัน หรือด้วยเหตุผลอื่น ก็จะส่งผลกระทบต่ออารมณ์ของหญิงตั้งครรภ์ และทารกในครรภ์ได้
สภาพสังคม
หญิงตั้งครรภ์ที่อยู่ในสภาพสังคมที่ดีและเด็กที่เจริญเติบโตอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่ดีก็จะส่งผลให้มารดาและทารกมีสุขภาพจิตที่ดียิ่งขึ้น
เด็กที่เกิดมาจากสิ่งแวดล้อมที่ไม่ดีมักจะทำให้
เด็กเหล่านี้อาจเป็นต้นเหตุของปัญหาสังคมสืบเนื่องสืบต่อกันไป