Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ปัจจัยที่ส่งผลต่อภาวะสุขภาพของมารดาทารกในระยะตั้งครรภ์ ระยะคลอด…
ปัจจัยที่ส่งผลต่อภาวะสุขภาพของมารดาทารกในระยะตั้งครรภ์ ระยะคลอด และระยะหลังคลอดปกติ
ปัจจัยส่วนบุคคลของมารดา
อายุ
อายุมาก
วุฒิภาวะที่มากกว่า มีควารู้และความพร้อมแต่อาจมีผลต่อทางสุขภาพปัญหาข้อติดต่างๆ
อายุน้อย
ขาดความพร้อมในการดูแล และร่งกายอาจเจริญเติบโตไม่เต็มที่
น้ำหนักตัว และส่วนสูง
สตรีตั้งครรภ์ที่มีน้ำหนักตัวน้อย
ส่งผลให้ทารกมี
น้ำหนักน้อย และเกิดภาวะเจริญเติบโตช้าในครรภ์
ส่วนสตรีตั้งครรภ์ที่มีน้ำหนักมากเกินไป
เสี่ยงต่อการคลอดยาก
ส่วนสตรีตั้งครรภ์ที่มีส่วนสูงต่ำกว่า 145cm
เสี่ยงต่อการคลอดติดขัด เนื่องจากขนาดของทารกไม่สัมพันธ์กับเชิงกรานมารดา
ระดับการศึกษา
การศึกษาสูงจะตระหนักและเข้าใจปัญหาและรู้จักการแก้ปัญหาได้ดีกว่า
รายได้ หรือฐานะทางเศรษฐกิจ
รายได้สูงจะเอื้ออำนวยให้มีพฤติกรรมที่เหมาะสมกว่า
สถานภาพสมรส
สตรีตั้งครรภ์ที่เป็นโสด หม้าย หย่า หรือแยกกันอยู่กับสามี มักขาดคนดูแลและให้กำลังใจ
อาชีพ
ไม่มีข้อห้ามสำหรับสตรีตั้งครรภ์ในเรื่องการทำงานน แต่ต้องไม่เป็นงานที่เกิดความเหนื่อยล้ามากเกินไป
7.ลำดับที่ของการตั้งครรภ์
สตรีตั้งครรภ์ที่เคยผ่านประสบการณ์การตั้งครรภ์มาแล้ว จะสามารถควบคุมอารมณ์และสถานการณ์ต่างๆได้ดี แต่อาจละเลยได้
สตรีตั้งครรภ์แรกยังไม่มีประสบการณ์อาจมีความสนใจค้นคว้าหาความรู้ จากหนังสือ หรืผู้มีประสบการณ์
จำนวนครั้งของการคลอด
การคลอดครั้งแรกจะมีอัตราเสี่ยงอันตราย ก่อให้เกิดภาวะแทรกซ้อนมากกว่าการคลอดครั้งที่ 2-3
การคลอดมากกว่า 4 ครั้ง ก็จะทำให้อัตราเสี่ยงสูงขึ้นอีก โดยอาจเกิดภาวะแทรกซ้อน ตกเลือดหลังคลอด และติดเชื้อหลังคลอด
ระยะห่างของการตั้งครรภ์
ระยะห่างระหว่างการตั้งครรภ์น้อยกว่า 2 ปี จะมีอัตราเสี่ยงสูงเป็น 3 เท่า ของการตั้งครรภ์
ห่างกัน 3 ปี
ระยะห่างของครรภ์ที่ปลอดภัยที่สุดประมาณ 2-4 ปี
ภาวะสุขภาพสตรีตั้งครรภ์
โรคประจำตัวเรื้อรัง เช่น หัวใจ เบาหวาน ความดันโลหิตสูง หรือโรคทางพันธุกรรม เช่น ธาลัสซีเมีย ฮีโมโกลบินผิดปกติ
ทำให้ทารกแรกเกิดมีความพิการแต่กำเนิด เช่น ภาวะปัญญาอ่อน การเจ็บป่วย และการตาย พบว่ามีอุบัติการณ์เพิ่มสูงขึ้น
ความเชื่อ ค่านิยม และพฤติกรรมของมารดา
ปัจจัยด้านความเชื่อ ค่านิยม
1.1 ความเชื่อในระยะตั้งครรภ์
การดื่มน้ำมะพร้าวอ่อน จะทำให้ทารกมีผิวพรรณดี แต่ช่วยทำให้สตรีตั้งครรภ์ได้รับน้ำเพิ่มขึ้นซึ่งเป็นประโยชน์ต
ห้ามไปงานศพตามหลักจิตวิทยาที่สตรีตั้งครรภ์อยู่ท่ามกลางบรรยากาศที่เศร้าโศกจะทำให้จิตใจหดหู่ ส่งผลต่ออารมณ์ข
ห้ามนั่งขวางบันได เชื่อว่าจะทำให้คลอดยาก แต่ที่จริงหลีกเลี่ยงอุบัติเหตุ
1.2 ความเชื่อในระยะคลอด
การตัดสายสะดือเป็นสาเหตุของการติดเชื้อในทารกแรกเกิดที่พบบ่อย
1.3 ความเชื่อในระยะหลังคลอด
การอยู่ไฟหลังคลอดบรรเทาความเจ็บปวดลงได้ น้ำนมไหลดีมากขึ้น
สุขภาพแข็งแรงเร็วขึ้น
2.พฤติกรรมของสตรีตั้งครร
2.1 การดื่มสุรา
ส่งผลให้ทารกที่คลอดออกมามีโอกาสน้ำหนักน้อย ปากแหว่ง เพดานโหว่ หัวใจผิดปกติโดยกำเนิด การเจริญเติบโตของแขนและขาผิดปกติ อาจเสียชีวิตได้ในช่วง 2-3 สัปดาห์แรก
2.2 การสูบบุหรี
จะมีผลทำให้เส้นเลือดมีการหดตัว ทำให้เลือดที่ผ่านรก
ไปยังทารกจะน้องลงกว่าปกติ
การเจริญเติบโตของทารกในครรภ์ช้าอัตราการแท้งบุตร การคลอดก่อนกำหนดสูงขึ้น ทารกที่คลอดออกมามีน้ำหนักน้อยกว่าปกติ
2.3 การใช้สารเสพติด
พบว่ามีการใช้สารเสพติดมากขึ้นในสตรีที่มีอายุน้อยมีปัญหา
ครอบครัว ยากจน และไม่มีความรู้เกี่ยวกับการคุมกำเนิดที่ถูกต้อง
2.4 การใช้ยา
1.ระยะปฏิสนธิผลต่อทารกในครรภ์ที่พบบ่อย ได้แก่ แท้ง
2.ระยะฝังตัว (1-2 สัปดาห์แรก) ผลต่อทารกในครรภ์ที่พบบ่อย ได้แก่เซลล์ลดลงทำให้แท้ง
3.ระยะสร้างอวัยวะต่างๆ ผลต่อทารกในครรภ์ที่พบบ่อย ได้แก่พิการแต่กำเนิด พบโรคมะเร็ง
4.เดือนที่ 3 ถึงเดือนที่ 9 ผลต่อทารกในครรภ์ที่พบบ่อย ได้แก่ ทารกน้ำหนักตัวน้อย การเจริญของศีรษะผิดปกติ
ยาที่อาจมีพิษหรือผลข้างเคียงต่อทารกในครรภ์ ซึ่งไม่ควรใช้กับสตรีตั้งครรภ
ยกตัวอย่างเช่น แอสไพรินยา ต้านอักเสบ ที่ไม่ใช่สเตอรอยด์ รีเซอร์ฟีน (Reserpine)
สิ่งแวดล้อม
มลพิษ
ยาฆ่าแมลง สารเคมีที่เหลือจากโรงงานอุตสาหกรรม สารปรอท จะมีฤทธิ์ทำลายพัฒนาการทางสมองของทารก
สภาพครอบครัว
สภาพครอบครัวที่แตกแยก หรือการตั้งครรภ์ที่ไม่พึงประสงค์ จะส่งผลให้สตรีตั้งครรภ์เกิดความเครียด ทำให้ความสามารถในการดูแลตนเองลดลง
ระบบบริการทางการแพทย์และสาธารณสุข :
นการเข้าถึงบริการทางการแพทย์ และสถานบริการสาธารณสุขที่อยู่ใกล้เคียงมีเครื่องมือทันสมัย
การเมืองการปกครอง
นโยบาย งบประมาณ ลดอัตราการตายของมารดา ทารก
เป็นการส่งเสริมการดูแลมารตาและทารก
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการของทารกในครรภ์
1.รังสี
การตรวจสอบด้วยรังสี โดยไม่ทราบว่าตั้งครรภ์ หรือระยะแรกของการตั้งครรภ์ จะมีอันตรายต่อทารกในครรภ์
การใช้ยา
1.ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในระบบการไหลเวียนของมารดา
2.มีผลโดยตรงต่อกล้ามเนื้อมดลูกและการทำงานของมดลูก
3.มีผลต่อพัฒนาการของทารก จึงทำให้เกิดความพิการได้
ก่อนใช้ยาต่าง ๆ ขณะตั้งครรภ์ควรปรึกษาแพทย์ก่อน
สิ่งแวดล้อมเป็นพิษ
ยาฆ่าแมลง สารเคมีที่เหลือจากโรงงานอุตสาหกรรม สารปรอท จะมีฤทธิ์ทำลายพัฒนาการทางสมองของทารก
สภาพสังคม
เด็กที่เจริญเติบโตอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่ดีก็จะส่งผลให้
มารดาและทารกมีสุขภาพจิตที่ดียิ่งขึ้น
สภาพครอบครั
สภาพครอบครัวที่แตกแยก หรือการตั้งครรภ์ที่ไม่พึงประสงค์ จะส่งผลให้สตรีตั้งครรภ์เกิดความเครียด ทำให้ความสามารถในการดูแลตนเองลดลง
Covid-19 กับหญิงตั้งครรภ์
ระยะฝากครรภ์
การนัดหมายตรวจครรภ์ ควรมีการปรับเปลี่ยนให้เหมาะสมตามช่วงอายุของครรภื ลดภาวะเสี่ยง
หากมีความจำเป็นต้องไป ควรมีการป้องกันหลีกเหลี่่ยงการเดินทางระบบขนส่งสาธาณระชน ให้คนติดตามไปไม่เกิน1คน สวมหน้ากากตลอดเวลา พกเจลแอลกอฮอล์
การเฝ้าสังเกตอาการขณะอยู่ที่บ้าน
มีไข้สูงกว่า37.5 องศาเซลเซียสขึ้นไป
้ ไอ หายใจติดขัด หายใจเหนื่อย เจ็บคอ มีน้ามูก
ผลกระทบต่อทารกในครรภ์และวิธีการดูแลตัวเอง
ในตอนนี้ยังไม่มีหลักฐานในการถ่ายทอดเชื้อจากแม่ไปลูก
อาจส่งผลกระทบทางอ้อมแบบเชื้ออื่นๆเช่น การแท้งบุตร ภาวะการเจ็บคลอดก่อนกำหนด ทารกเจรฺญเติบโตช้าในครรภ์
การดูแลสุขภาพจิตของคุณแม่ตั้งครรภ์
พยายามในการรักษาสมดุลการใช้ชีวิตประจำวัน ความสนใจใส่ใจจากสมาชิกในครอบครัว
การดูแลหลังคลอด
หากไม่ผิดปกตินัดตรวจ 6สัปดาห์หลังคลอด หากผิดปกติอาจมีดารนัดตามความเหมาะสม
การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
ถ้าติดเชื้อน้อยลูกสามารถกินนมได้ ถ้ารุนแรงงดให้นมบุตร
เช็ดทำความสะอาดบริเวณหัวนม สวมแมสทุกครั้ง ล้างมือด้วยสบู่อย่างน้อย 20วินาทีหลังการใช้เครื่องปั๊มนมควรทำความสะอาดเก็บให้เรียบร้อย