Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 1 หลักการพยาบาลอนามัยชุมชน หลักการสาธารณสุขมูลฐานและ…
บทที่ 1 หลักการพยาบาลอนามัยชุมชน หลักการสาธารณสุขมูลฐานและ บทบาทหน้าที่ของพยาบาลอนามัยชุมชน
แนวคิดหลักการสาธารณสุขและการพยาบาลอนามัยชุมชน
1.1 แนวคิดหลักการสาธารณสุข
เป็นการผสมผสานวิทยาศาสตร์และทักษะการปฏิบัติ ที่เชื่อว่ามีผลโดยตรงต่อการคงไว้และพัฒนาสุขภาพ มวลชน โดยการจัดการของสังคม
กิจกรรม 5 ประการ เพื่อความมีสุขภาพและความยืนยาวของชีวิต
การควบคุมป้องกันโรคติดต่อ
การให้ความรู้ด้านสุขวิทยาส่วนบุคคล
การจัดองค์กรเกี่ยวกับบริการทางการแพทย์
และการพยาบาลเพื่อการวินิจฉัยโรค ได้อย่างรวดเร็ว
การพัฒนากลไกสังคม
1.การสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม
หลักการสาธารณสุขโดยทั่วไป
ให้การดูแลประชาชนทุกภาวะสุขภาพ
ให้การดูแลประชาชนทุกสถานที่
ให้การดูแลประชาชนในลักษณะองค์รวม
ให้การดูแลประชาชนโดยไม่เลือกชั้นวรรณะ
ใช้กลวิธีต่าง ๆ ในการดูแลสุขภาพประชาชน
6.ประสานความร่วมมือทางด้านสังคม เพื่อพัฒนาสุขภาพของประชาชน
หลักการในการจัดบริการสาธารณะสุข
หลักการในการจัดบริการสาธารณสุข
มีความเพียงพอ (Availability)
เข้าถึงได้ (Accessibility)
มีบริการอย่างต่อเนื่อง (Continuity)
มีคุณภาพเป็นที่ยอมรับ (Acceptability)
มีประสิทธิภาพ (Efficiency)
มีความเสมอภาค (Equity)
ระดับการให้บริการ มี 5 ระดับ
การดูแลสุขภาพด้วยตนเองในครอบครัว (Self Care Level)
การบริการสาธารณสุขมูลฐาน (Primary Health Care Level)
การจัดบริการสาธารณสุขระดับต้น (Primary Care Level)
การจัดบริการสาธารณสุขระดับกลาง (Secondary Care Level)
การจัดบริการสาธารณสุขระดับสูง (Tertiary Care Level)
1.2 แนวคิด หลักการการพยาบาลอนามัยชุมชน
การพยาบาลอนามัยชุมชน (Community Health Nursing ) มุ่งเน้นการให้บริการพยาบาลนอกสถานบริการสุขภาพ ผสมผสานความรู้และทักษณะทางการพยาบาล การสาธารณสุข และศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง
มิติของการให้บริการของพยาบาลอนามัยชุมชน
ด้านการสร้างเสริมสุขภาพ
ด้านการป้องกันโรค มี 3 ระดับ (Primary prevention/
Secondary prevention/Tertiary prevention )
การให้บริการตรวจรักษาโรคเบื้องต้น
และดูแลสุขภาพ ต่อเนื่องในหน่วยบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิ
การให้บริการฟื้นฟูสุขภาพของผู้รับบริการ
2 ระบบบริการสาธารณสุขของประเทศไทยในแผนพัฒนาสุขภาพฉบับที่ 12 และการพัฒนาระบบบริการสาธารณสุขสู่ยุค Thailand 4.0
2.1 ระบบบริการสาธารณสุขของประเทศไทยในแผนพัฒนาสุขภาพฉบับที่ 12
สรุปสถานการณ์และปัจจัยที่มีผลต่อการพัฒนาสุขภาพ
โรคที่เกี่ยวกับความยากจน
โรคที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาสู่ความทันสมัยที่เปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตและการบริโภคทำให้เกิดโรคเรื้อรัง
โรคที่เกิดและแพร่ระบาดในยุคโลกาภิวัตน์
2.2 การพัฒนาระบบบริการ
สาธารณสุขสู่ยุค Thailand 4.0
เทคโนโลยีที่จะเป็นกลไกหลักในการขับเคลื่อนให้เกิด
thailand Health 4.0
Social Webs and Network
Mobile Application
Internet of Things
Cloud Computing
Big Data and Health Analytics
Robotics
Artificial Intelligences
3 หลักการสาธารณสุขมูลฐาน.
3.1 องค์ประกอบของงานสาธารณสุขมูลฐาน
การสุขศึกษา
8.การจัดหายาที่จำเป็นไว้ใช้ใน หมู่บ้าน
การโภชนาการ
9.การทันตสาธารณสุข
สุขาภิบาลและการจัดหาน้ำ สะอาด
10.การส่งเสริมสุขภาพจิต
การอนามัยแม่และเด็กและ การวางแผนครอบครัว
11.การป้องกันและควบคุมโรค เอดส์
การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
12.การป้องกันอุบัติเหตุและโรค ไม่ติดต่อ
การป้องกันและควบคุมโรค
13.การคุ้มครองผู้บริโภคด้าน
7.การรักษาพยาบาล '
14.การป้องกันและแก้ไขมลภาวะ
และสิ่งแวดล้อมที่เป็นพิษเป็นภัย
กลวิธีหลักในการดำเนินงานสาธารณสุขมูลฐาน
1.การมีส่วนร่วมของชุมชน
(People Participation หรือ Community Involvement)
2.การผสมผสานงานกับผู้อื่น
(Intersectoral Collaboration)
3.การใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม
(Appropriate Technology)
การบริการสาธารณสุขของรัฐต้องสนับสนุนงาน สาธารณสุขมูลฐาน
(Reoriented Basic Health Service)
บทบาทหน้าที่ของพยาบาลอนามัยชุมชน และลักษณะงานพยาบาลอนามัยชุมชน
4.1 บทบาทหน้าที่ของพยาบาล อนามัยชุมชน
บทบาทหน้าที่ของพยาบาลอนามัยชุมชน
1.เป็นผู้บริการด้านสุขภาพ
2.เป็นผู้ให้ความรู้ด้านสุขภาะ
3.เป็นผู้พิทักษ์ผลประโยชน์ - '
4.เป็นผู้บริหารจัดการ
5.เป็นผู้ให้คำปรึกษา
6.เป็นผู้วิจัย
7.เป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลง
8.เป็นผู้นำ
9.เป็นผู้ประสานงาน
10.เป็นผู้ให้ความร่วมมือ
4.2 ลักษณะงานพยาบาลอนามัยชุมชน
พยาบาลอนามัยชุมชนจะต้องมีทักษะที่จำเป็น
ด้านการสื่อสาร
การสอนด้านสุขภาพ
ทักษะในการตัดสินใจแก้ไขปัญหา
การประสานงาน
การจัดการเพื่อบริการพยาบาลที่มีคุณภาพ
ลักษณะงานของพยาบาลชุมชน
1.งานมุ่งสู่สุขภาพ
2.งานเน้นตามประชากรที่ให้บริการ '
3.งานที่มีความเป็นเอกสิทธิ์
4.งานที่มีความต่อเนื่อง
5.งานที่มีความหลากหลาย
6.งานที่เชื่อมโยงปฏิสัมพันธ์ของปัจจัยต่างๆ ต่อสุขภาพ
7.งานด้านการประสานความร่วมมือ
8.งานที่มีความรับผิดชอบต่อสังคม