Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สรุปการเรียนรู้บทที่ 14, นางสาวแพรวรุ่ง คำผอง 62111301065 เลขที่ 63 -…
สรุปการเรียนรู้บทที่ 14
-
โรคหัวใจแต่กำเนิด
ชนิดไม่เขียว
-
-
การพยาบาล
การประเมินภาวะสุขภาพ
การซักประวัติ
ดูดนมแล้วเหนื่อย ต้องหยุดเป็นช่วง ๆ มีหายใจแรง เหงื่ออกมาก กระสับกระส่าย มีอาการเขียวตามปลายมือ ปลายเท้า
-
-
-
-
-
-
ข้อวินิจฉัย
-
ผู้ป่วยอาจมีอาการเป็นลมหมดสติ เนื่องจากสมองได้รับออกซิเจนไม่เพียงพอ จากการที่มีเลือดไปเลี้ยงสมองไม่เพียงพอ
-
-
-
-
ผู้ป่วยมีโอกาสเกิดการติดเชื้อที่เยื่อบุหัวใจ เนื่องจากมีความผิดปกติของหัวใจและหลอดเลือดที่ทำให้มีการไหลลัดของเลือด
-
-
สังเกตและติดตามประเมินอาการแสดงของภาวะเยื่อบุหัวใจอักเสบ เช่น มีไข้ต่ำเป็นเวลาหลายวัน อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร น้ำหนักลด
ป่วยมีโอกาสเสี่ยงต่อการมีการเจริญเติบโตที่ไม่สมวัย หรือต่ำกว่าเกณฑ์ เนื่องจากดูดนม/รับประทานอาหารได้น้อย
ดูแลให้ผู้ป่วยได้พักผ่อนช่วงสั้น ๆ ก่อนมื้อนม/อาหารเพื่อสะสมพลังให้เพียงพอที่จะใช้การดูดนม/เคี้ยวกลืนอาหาร
-
-
-
สังเกตและบันทึกปริมาณอาหารที่ผู้ป่วยรับประทาน ผู้ป่วยที่มีอาการเบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเจียน รับประทานอาหารได้น้อย หรือดูดนมได้ไม่หมดบ่อยครั้ง ควรรายงานแพทย์ทราบ
-
-
ผู้ป่วยมีโอกาสเกิดพัฒนาการล่าช้า เนื่องจากผู้ป่วยมีอาการเหนื่อยง่าย การเคลื่อนไหวร่างกาย แขน ขา จึงมีน้อย หรือในเด็กเล็กบางรายที่มีอาการหายใจลำบาก
-
-
-
-
ชนิดเขียว
-
-
การพยาบาล
-
-
การประเมินภาวะจิตสังคม
ประเมินความวิตกกังวล ของผู้ป่วยและบิดามารดาเกี่ยวกับการเกิดภาวะสมองขาดออกซิเจน ร่วมกับอาการเขียวทั่วตัวของเด็ก
ข้อวินิจฉัย
-
-
ผู้ป่วยมีโอกาสเกิดการอุดตันของหลอดเลือดฝอยในร่างกายได้ เช่น หลอดเลือดฝอย โดยเฉพาะในหลอดเลือดฝอยที่สมอง เนื่องจากมีภาวะเลือดข้น
-
-
-
-
-
-
ผู้ป่วยมีโอกาสเกิดฝีในสมองได้ เนื่องจากมีความผิดปกติของหัวใจและหลอดเลือด ทำให้เลือดบางส่วนไม่ได้ส่งไปฟอกที่ปอด
-
-
ในรายที่สงสัยว่าเกิดเป็นฝีในสมอง ควรประเมินทางระบบประสาทของผู้ป่วย เช่น อาเจียน เห็นภาพซ้อน สังเกตระดับความรู้สึก ชัก
-
ดูแลให้ยารักษาประคับประคอง เช่น ให้ยาลดไข้ และยากันชัก ในรายที่เป็นฝีในสมองดูแลให้ยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา
-
-
-