Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การตรวจสภาพจิต อาการวิทยา และ กลไกป้องกัน ทางจิตในผู้ป่วยจิตเวช - Coggle…
การตรวจสภาพจิต อาการวิทยา และ กลไกป้องกัน ทางจิตในผู้ป่วยจิตเวช
การตรวจสภาพจิต (mental status examination, MSE)
เพื่อประเมินสภาวะอารมณ์และจิตใจของผู้ป่วยในขณะนั้น
ประกอบด้วยกระบวนการต่างๆ ดังต่อไปนี้
การสัมภาษณ์ทางจิตเวช (psychiatric interview)
การซักประวัติทางจิตเวช (psychiatric history- taking)
การตรวจสภาพจิต (mental status examination)
การตรวจร่างกาย(physicalexamination)
การตรวจพิเศษ(specialinvestigation)
การวินิจฉัย (diagnosis) และการวินิจฉัยแยกโรค (differential diagnosis)
สรุปความเป็นมาของปัญหาทางจิตใจ(psychodynamicformulation)
การพยากรณ์โรค(prognosis)
การวางแผนการรักษา (treatment plan)
การเขียนรายงานผู้ป่วย (patient report)
หัวข้อหลักในการตรวจสภาพจิต
ลักษณะทั่วไป(generalappearance)
ลักษณะการพูดและกระแสการพูด (speech and stream of talk)
อารมณ์ (moodandaffect)
ความคิด(thought)
การรับรู้(perception)
การรับรู้ตนเองและสิ่งแวดล้อม (cognitive function)
-การรับรู้เวลา สถานที่ และบุคคล (orientation)
ความจํา (memory)
-สมาธิ (attention and concentration)
ความคิดแบบนามธรรม (abstract thinking)
เชาวน์ปัญญา(intellectualfunction)
การตัดสินใจ(judgment)
การหยั่งรู้ความเจ็บป่วยของตนเอง(insight)
การบันทึกผลการตรวจ
ลักษณะทั่วไป(generalappearance)
-ลักษณะโดยทั่วไป (appearance)
-พฤติกรรม(behavior)
-ท่าที (attitude)
การพูดและกระแสการพูด(speechandstreamoftalk)
อารมณ์(moodandaffect)
ความคิด(thought)
-ความคิดหมกมุ่น (preoccupation thought)
-ย้ำคิด (obsession thought)
-อาการกลัวที่ผิดปกติ (phobia)
-อาการหลงผิด (delusion)
-ความคิดฆ่าตัวตาย (suicidal idea)
-ความคิดทําร้ายผู้อื่น (homicidal idea)
การรับรู้(perception)
-ประสาทหลอน(hallucination) :
1.)ภาพหลอน (visual hallucination)
2.)หูแว่ว หรือเสียงแว่ว (auditory hallucination)
3.)กลิ่นหลอน (olfactory hallucination)
4.)รสหลอน (gustatory hallucination)
5.)สัมผัสหลอน (tactile hallucination)
-การแปลสิ่งเร้าผิด (illusion)
การรับรู้ตัวเองและสิ่งแวดล้อม(cognitivefunction)
-การรับรู้เวลา สถานที่ และบุคคล (orientation)
-ความจํา (memory)
-สมาธิและความตั้งใจ(concentrationandattention)
-ความคิดแบบนามธรรม (abstract thinking)
-เชาวน์ปัญญา (intellectual function)
-การตัดสินใจ (judgment)
-การหยั่งรู้ความเจ็บป่วยของตนเอง (insight)
อาการแสดงทางจิตเวช
ความผิดปกติของสติสัมปชัญญะ (Consciousness)
Disorientation ภาวะที่ไม่รับรู้กาลเวลา สถานที่และบุคคล
Clouding of consciousness ภาวะที่ระดับสติสัมปชัญญะลดลง รับรู้สิ่งรอบตัวลดลง
-Distractibility ไม่สามารถคงความใสใจอยู่ที่เรื่องใดเรื่องหนึ่งได้นาน เปลี่ยนความสนใจไปตามการเปลี่ยนแปลง
-Delirium ภาวะเพ้อ สับสน งุนงง มักมีDisorientation ร่วมกับอาการกลัวและประสาทหลอน
ความผิดปกติของพฤติกรรมการเคลื่อนไหว (Motor behavior)
Psychomotor agitation ความคิดและการเคลื่อนไหวเพิ่มขึ้นมากจากความกดดันภายใน ใจ อยู่เฉยไม่ได้ อาจมีวุ่นวาย ทำลายข้าวของ
Psychomotor retardation ความคิด การเคลื่อนไหว และการพูดช้าลงมาก มักอยู่เฉยๆ
Stereotypy การกระทำหรือพูดซ้ำๆ เหมือนเดิม
โดยไม่มีจุดหมาย เช่น โยกตัว เอามือถู ศีรษะตลอดเวลา
Catatonia พฤติกรรมการเคลื่อนไหวผิดปกติ
โดยไม่มีสาเหตุทางกาย เช่น
-catatonic excitement วุ่นวาย เคลื่อนไหวมาก
-catatonic stupor การเคลื่อนไหวลดลง อยู่นิ่ง ไม่พูด
-catatonic posturing อยู่ในท่าแปลกๆนานๆ ไม่เปลี่ยนท่า
Compulsion การกระทำหรือพฤติกรรมซ้ำๆ โดยไม่อาจหักห้ามใจได้
-Mannerism การเคลื่อนไหวลักษณะแปลกเฉพาะตัว กระทำโดยมีจุดหมาย เช่น เอียงคอ ผงกหัวถี่ก่อนยกมือไหว้ทุกครั้ง
ความผิดปกติของอารมณ์ (emotion)
Dysphoric mood ความรู้สึกทุกข์ทรมาน ไม่สบายใจ เศร้า
Euthy mic mood อารมณ์ที่อยู่ในขอบเขตปกติ
Elevated mood มีความสุข รื่นเริงกว่าปกติ
Euphoric mood มีความสุข สบายมากเกินจริง
Iritable mood อารมณ์ขุ่นเคือง หงุดหงิด ฉุนเฉียวง่าย
Anxiety วิตกกังวล
Free-floating anxiety วิตกกังวลโดยไม่มีสาเหตุ
Panic attack วิตกกังวลตื่นตระหนกอย่างรุนแรง
Apathy หมดความสนใจต่อสิ่งต่างๆ
Anhedonia ไม่สามารถมีความสุขความพึงพอใจในกิจกรรมต่างๆ
Ambivalent มีความรู้สึกสองอย่างที่ตรงกันข้ามต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่งในขณะเดียวกัน
ความผิดปกติของความคิด (thought)
ความผิดปกติของกระแสและรูปแบบความคิด (Stream and form of thought)
Poverty of speech ปริมาณคำพูดมีน้อย ตอบเท่าที่ถาม
Poverty of content of speech เนื้อหาที่ตอบตรงกับที่ถามน้อย คลุมเครือ ซ้ำ
Blocking กระแสคำพูดหยุดชะงักก่อนพูดจบ
Perseveration พูดคำซ้ำหรือพูดเรื่องเดิมเรื่อยๆ
-Loosening of association ขาดความต่อเนื่องของความคิด เปลี่ยนเรื่องไปเรื่อยๆ
Incoherence ความคิดแต่ละตอนขาดความเชื่อมโยง สับสน
Flight of idea มีความคิดหลายอย่างเกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว พูดมาก พูดเร็ว เปลี่ยน
Tangentiality ตอบคำถามเฉียด เกี่ยวข้องเพียงเล็กน้อย
Circumstantiality พูดอ้อมค้อมไม่ตรงจุด
llogica lity แสดงความคิดเห็นไม่เป็นเหตุเป็นผลกัน ไม่ไปด้วยกัน
-Neologisms เป็นคำใหม่ที่ผู้ป่วยสร้างขึ้นมาเอง ความหมายใหม่ที่ฟังดูแปลก
Pressured speech พูดเร็วจนผู้อื่นไม่มีโอกาสขัดจังหวะ
ความผิดปกติในเนื้อหาความคิด (Content of Thought)
Preoccupation มีความคิดจดจ่ออยู่กับเรื่องใดเรื่องหนึ่งตลอดเวลา
Overvalue idea ความคิดความเชื่อที่ปราศจากเหตุผลและอยู่ได้นาน
Delusion ความคิดความเชื่อที่ผิด
systematized delusion หลงผิดอยู่เรื่องหนึ่งที่เป็นแกนหลัก
Fragmented delusion อาการหลงผิดแต่ละเรื่องไม่เกี่ยวข้องกัน
Bizarre delusion หลงผิดที่มีเนื้อหาแปลก พิลึกพิลั่น
Mood-congruent delusion เนื้อหาอาการหลงผิดสอดคล้องกับ
Delusion of reference หลงผิดว่าพฤติกรรมการกระทำของผู้อื่นสื่อถึงตนในแง่ลบ
ความผิดปกติของการรับรู้ (perception)
Hallucination ประสาทหลอน
Auditory hallucination ทางหู
Visual hallucination ทางตา
Tactile hallucination ทางผิวสัมผัส
Olfactory hallucination ทางได้กลิ่น
Gustatory hallucination ทางการรับรส
-Somatic hallucination หลอนของอวัยวะอื่นๆ มักเป็นอวัยวะภายใน
Illusion แปลภาพผิด เช่น เห็นสายน้ำเกลือเป็นงู
ความผิดปกติของความจำ (memory)
-Amnesia ไม่สามารถระลึกถึงเหตุการณ์ที่ผ่านมาได้ อาจบางส่วน หรือทั้งหมด
-Paramnesia มีความจำที่บิดเบือนไป เช่น
Confabulation เติมเรื่องที่แต่งเองไปในส่วนที่หลงลืมโดยไม่รู้ตัว
Deja vu เห็นสถานที่ สิ่งที่ไม่เคยพบเห็น แต่เกิดความรู้สึกว่าเคยพบเห็นมาก่อน
Jamais vu เกิดความรู้สึกไม่คุ้นเคยกับสิ่งที่ตนเองประสบ ทั้งๆที่เคยพบมาก่อน
ความผิดปกติของเชาว์ปัญญา (intelligence)
-Mental retardation ภาวะปัญญาอ่อน แบ่งออกเป็นหลายระดับ จะกล่าวละเอียดในความผิดปกติทางจิตในเด็กและวัยรุ่น
-Dementia ความจำและเชาวน์ปัญญาเสื่อมลง เนื่องจากสาเหตุทางกายแต่สติสัมปชัญญะยังปกติ
-Pseudo dementia มีลักษณะอาการเหมือนกับ Dementia แต่ไม่มีสาเหตุทางร่างกาย เช่น โรคซึมเศร้า
กลไกการป้องกันทางจิต(defense mechanisms)
Narcissistic defenses
Denial (การปฏิเสธ)
Distortion (การบิดเบือน)
Projection (การโทษผู้อื่น)
Immature defenses
Acting out (การแสดงออก ด้วยการกระทํา)
Blocking (การสะกัดกั้น)
Hypochon driasis (การคิดว่าตนป่วย)
Introjection (การพุ่งเข้าหาตนหรือ โทษตัวเองเป็นหลัก)
Passive aggressive Behavior (ความก้าวร้าวโดยอ้อม)
Regression (การถดถอยตนเองไปสู่วัยเด็ก)
Schizoid fantasy (การเก็บตัว มองโลกตามความต้องการของตนเอง)
Somatization (การเกิดอาการ ทางร่างกาย)
Neurotic defenses
Controlling (การควบคุมสถานการณ์ หรือคนในสิ่งแวดล้อมนั้น)
Displacement (การไปลงความโกรธกับผู้อื่นแทน)
Externalization (การกําหนดรู้ภายนอก)
Inhibition (การหยุดความคิดของตนที่ทำให้เกิดความไม่สบายใจ)
Intellectualization (การใช้เหตุผล หาข้อมูลเพื่อให้เกิดความสบายใจ
Isolation (การแยกอารมณ์ออกจากความคิด)
Rationalization (การหาเหตผุล เข้าข้างตน)
Dissociation (การเปลี่ยนเป็นบุคคลอื่น โดยไม่เหมือนตัวตนเดิม
Reaction formation (การกระทําที่ตรงกันข้ามกับสิ่งที่อยู่ภายในจิตใจ
Repression (การเก็บกด)
Sexualization (การให้ความสำคัญทางเพศกับบุคคล สิ่งของ วัตถุ)
Mature defenses
Altruism (การเห็นประโยชน์ผู้อื่น)
Anticipation (การคาดการณ์ วางแผนในอนาคต
Asceticism (การยอมรับ ละทิ้งอารมณ์ สงบ)
Humor (อารมณ์ขัน)
Sublimation (การควบคุมอารมณ์และแสดงออกอย่างสร้างสรรค์แทน)
Suppression (การกดระงับ แต่ไม่หลีกเลี่ยงปัญหา)