Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การประเมินตามสภาพจริงในชั้นเรียน - Coggle Diagram
การประเมินตามสภาพจริงในชั้นเรียน
แนวคิดและความหมาย
ของการประเมินตามสภาพจริง
ประเมินความสามารถของผู้เรียนแบบองค์รวม
ผู้เรียนได้ตอบสนองหรือแสดงออก
ผู้เรียนได้เรียนรู้มีความถูกต้องแม่นยำ
การส่งเสริม สนับสนุน เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
เครื่องมือที่หลากหลาย
แนวทางการประเมินตามสภาพจริง
ในการจัดการเรียนการสอน
ออกแบบหน่วยการเรียนรู้อย่างมีความหมาย
ใช้วิธีการประเมินที่เหมาะสมอย่างหลากหลาย
ใช้วิธีการประเมินที่เหมาะสมอย่างหลากหลาย
และเน้นการมีส่วนร่วม
ใช้รูบริกส์ที่ผู้สอนและผู้เรียนร่วมกันสร้างขึ้น
ประเมินงานตนเองเพื่อค้นหาจุดแข็งและจุดบกพร่อง
ให้ผู้เรียนได้มีทางเลือกในการสร้างชิ้นงานที่พวกเขาพอใจเพื่อรับ
ให้ผู้เรียนได้มีโอกาสเห็นข้อผิดพลาดในงาน
การประเมินเพื่อพัฒนา
ลักษณะสำคัญของการประเมินตามสภาพจริง
จะมุ่งประเมินความสามารถ
ของผู้เรียนแบบองค์รวม
ผู้เรียนต้องได้ใช้ทักษะการคิดขั้นสูง
เน้นการประเมินที่ให้ผู้เรียนได้ตอบสนอง
ผู้เรียนที่มีลักษณะเฉพาะเจาะจง
มี
การให้ผู้เรียนประเมินผลงานตนเอง
ใช้เครื่องมือและวิธีการที่หลากหลายอย่าง
เป็นการประเมินแบบอิงเกณฑ์
สามารถดำเนินการควบคู่ไปกับการจัดการเรียนปกติ
ได้ผลสัมฤทธิ์ที่มีความสอดคล้องสภาพจริงของผู้เรียน
มุ่งเก็บรวบรวมข้อมูลสารสนเทศทั้งเชิงปริมาณ
ข้อแตกต่างระหว่างการประเมินการปฏิบัติ
กับการประเมินตามสภาพจริง
การประเมินการปฏิบัติจะมุ่งตรวจสอบการตอบสนองของผู้เรียน
ในขณะที่การประเมินตามสภาพจริงให้ความสนใจบริบท
สิ่งแวดล้อมทีเกี่ยวข้องกับการตอบสนอง
ขั้นตอนการประเมินตามสภาพจริง
กำหนดงานหรือภาระงาน
กำหนดขอบเขตของสิ่งประเมินให้ชัดเจน
กำหนดวัตถุประสงค์และเป้าหมายของการประเมิน
กำหนดผู้ประเมิน
เครื่องมือที่ใช้ในการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
กำหนดเกณฑ์ในการประเมินการปฏิบัติงาน
จัดทำเอกสารใบงานอย่างชัดเจน
กำกับ ติดตาม ตรวจสอบ
ดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ
ประเมินสรุปรวบยอดเกี่ยวกับการปฏิบัติภาระงานที่มอบหมาย