Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Leptospirosis - Coggle Diagram
Leptospirosis
อาการ
ระยะเชื้อเข้ากระแสเลือด (Leptospiremic phase )
- ปวดศีรษะทันที มักจะปวด บริเวณหน้าผาก หรือหลังตา
- ปวดกล้ามเนื้ออย่างรุนแรงมากโดยเฉพาะบริเวณน่อง โคนขา กล้ามเนื้อหลัง
- ไข้สูง 28-40 องศา เยื่อบุตาแดง
- อาการต่างๆอยู่ได้ 4-7 วัน
ระยะร่างกายสร้างภูมิ (Immune phase) ระยะนี้ถ้าเจาะเลือดจะพบภูมิต่อเชื้อเพิ่ม
- หลังจากมีไข้ 1 สัปดาห์ โดยจะเป็นระยะที่ไข้ลง 1-2 วันแล้วกลับมีไข้ขึ้นอีก
- มีอาการ ปวดศีรษะ ไข้ต่ำๆ คลื่นไส้อาเจียน
- คอแข็งมีการอักเสบของเยื่อหุ้มสมอง
- มีเชื้อออกมาในปัสสาวะ
- หากมีอาการรุนแรงจะพบ ตาเหลือง ตัวเหลือง มีอาการคอแข็ง ตวามดันโลหิตต่ำ ต่อมน้ำเหลืองโต ตับ ม้ามโต
สาเหตุ
สาเหตุการติดต่อ การกินอาหาร ดื่มน้ำปัสสาวะของสัตว์ เดินลุยน้ำ อาบน้ำที่ปนเปื้อนปัสสาวะวะ เชื้อจะเข้าทางบาดแผล ทางเยื่อบุจมูก ปากหรือตา การติดเชื้อ Leptospira อาศัยอยู่ในท่อหลอดไตของสัตว์ได้หลายชนิด เช่น หนุ สุกร โค กระบือ สุนัข เชื้อมีชีวิตอยู่ได้นานหลายเดือนหลังถูกขับออกทางปัสสาวะจากสัตว์มีเชื้อ
การวินิจฉัย
-
-
-
ตรวจการทำงานของตับ พบการอักเสบของตับโดยจะมีค่าSGOT,SGPT สูงขึ้น
ในรายที่รุนแรงการทำงานของไตจะเสื่อม ค่า Creatinin, BUN จะเพิ่มขึ้น
-
-
-
พยาธิสภาพ
เชื้อ leptospires เข้าสู่ทางผิวหนังหรือเยื่อหุ้มที่มีแผล เชื่อจะเข้าสู่กระแสเลือดภายใน 24 ชั่วโมง และการกระจายไปตามอวัยวะต่างๆ เนื่องจากเชื้อสามารถเคลื่อนไหวได้อย่างรวดเร็วจึงไม่มีการอักเสบที่ตำแหน่งทางเข้าของเชื้อ เมื่อเชื้อโรคเข้าสู่ร่างกายจะอยู่ในสภาวะแวดล้อมต่างจากภายนอกมาก เช่น ความเข้มข้นของเกลือ ความดันออสโมติกและอุณหภูมิร่างกายที่สูงกว่าทำให้เชื้อ leptospiresซึ่งไม่ก่อโรคไม่สามารถเจริญและแบ่งตัวได้
การรักษา
โรคนี้รักษาได้ด้วยยาปฏิชีวนะเช่น เพนนิซิลิน เตตร้าซัยคลิน
สเต็ปโตมันซิน หรือ อิริทรอมันซิน ควรได้รับยาภายใน 4 ถึง 7 วันหลังเกิดอาการ และควรได้รับน้ำและเกลือแร่อย่างเพียงพอ
-