Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลจิตเวชเด็ก (Attention Deficit Hyperactivity Disorders:) …
การพยาบาลจิตเวชเด็ก
(Attention Deficit Hyperactivity Disorders:)
โรคสมาธิสั้น
ความหมาย
โรคท่ีมี ภาวะสมาธิบกพร่องและมีพฤติกรรมไม่อยู่นิ่ง เป็นกลุ่มอาการที่เกิดจากความผิดปกติของสมองซึ่งมี ผลกระทบต่อพฤติกรรม อารมณ์ การเรียน การงาน หรือการเข้าสังคมกับผู้อื่นอย่างชัดเจน
โดยกลุ่ม อาการน้ีประกอบด้วย อาการขาดสมาธิ (Attention deficit) อาการหุนหันพลันแล่น (Impulsivity) อาการซน อยู่ไม่นิ่ง (Hyperactivity) โดยเร่ิมแสดงอาการดังกล่าวก่อนอายุ 7 ปีและแสดงอาการใน สถานการณ์หรือสถานที่อย่างน้อย 2 แห่งขึ้นไป
สาเหตุ
ปัจจัยทางพันธุกรรม
ปัจจัยทางชีวภาพ
ปัจจัยทางสังคมและส่ิงแวดล้อม
อาการและอาการแสดง
2) อาการสมาธิสั้น (Inattention)
3) อาการหุนหันพลันแล่น (Impulsivity)
1) อาการซุกซนอยู่ไม่นิ่ง (Hyperactivity)
ลักษณะทางคลินิก
โรคสมาธิสั้น แบ่งออกเป็น 3 ชนิด ดังนี้
2) โรคสมาธิสั้นชนิดซน/หุนหันพลันแล่น (Hyperactivity-impulsive type)
3) โรคสมาธิสั้นชนิดขาดสมาธิ (Inattentive type)
1) โรคสมาธิสั้นชนิดผสม (Combined type)
การวินิจฉัย
B. อาการต้องเกิดขึ้นก่อนอายุ 7 ปี
C. อาการปรากฏในสถานการณ์หรือสถานที่อย่างน้อย 2 แห่งขึ้นไป เช่น ที่โรงเรียน ทีทำงานหรือบ้าน
A. มีอาการอย่างน้อย 6 อาการข้ึนไปในข้อ ก และ/หรือข้อ ข เป็นเวลานานติดต่อกัน อย่างน้อย 6 เดือน
ก. อาการขาดสมาธิ (Inattentive symptoms)
5) ทางานไม่เป็นระเบียบ
6) ไม่เต็มใจหรือหลีกเลี่ยงการทางานท่ีต้องใช้เวลาคิด
4) ไม่สามารถต้ังใจฟังและเก็บรายละเอียดของคำสั่ง ทาให้ทำงานไม่เสร็จหรือผิดพลาด
7) ทำของใช้ส่วนตัวหรือของจำเป็นในการทำงานหรือการเรียนหายบ่อยๆ
3) ไม่สนใจฟังคำพูดของผู้อื่น
8) วอกแวกง่าย
2) ไม่มีสมาธิในการทำงานหรือการเล่น
9) ลืมบ่อยๆ ในกิจวัตรประจำวันท่ีทำประจำ
1) ไม่สามารถจดจำรายละเอียดของงานที่ทาได้หรือทำผิดเนื่องจากขาดความรอบคอบ
ข. อาการซน/หุนหันพลันแล่น (Hyperactivity/Impulsivity symptoms)
4) ไม่สามารถเล่นหรืออยู่เงียบๆ ได
5) ต้องเคลื่อนไหวตลอดเวลา
3) ชอบวิ่งหรือปีนป่ายสิ่งต่างๆ
6) พูดมาก พูดไม่หยุดเหมือนติดเครื่องยนต์
7) ชอบโพล่งคาตอบโดยท่ีฟังคาถามยังไม่จบ
8) มีความลาบากในการเข้าคิวหรือรอคอย
2) ชอบลุกจากท่ีน่ังเวลาอยู่ในห้องเรียนหรือในสถานที่ที่เด็กจาเป็นต้องนั่งเฉยๆ
1) ยุกยิก อยู่ไม่สุข ชอบขยับมือและเท้าไปมา
9) ชอบขัดจังหวะหรือสอดแทรกเวลาผู้อื่นกาลังคุยกันหรือแย่งเพื่อนเล่น
D. อาการต้องรบกวนการเรียน การเข้าสังคม หรืออาชีพการงานอย่างชัดเจน
การวินิจฉัยการพยาบาล (Nursing Diagnosis)
ความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองต่ำเนื่องจากไม่สามารถเข้าร่วมกิจกรรมที่ตนเองคาดหวังได้
เสี่ยงต่อการเกิดพฤติกรรมรุนแรงท่ีอาจเป็นอันตรายต่อตนเอง ผู้อื่น และส่ิงของ เนื่องจากอาการไม่อยู่นิ่ง หุนหันพลันแล่น และควบคุมตนเองไม่ได้
บกพร่องในการ สร้างสัมพันธภาพเนื่องจากอาการหุนหันพลันแล่น
ครอบครัวไม่สามารถเผชิญปัญหาได้ เนื่องจากความเจ็บป่วยเรื้อรัง ความรู้สึกผิด ความวิตกกังวล และความสิ้นหวัง
ไม่ สามารถควบคุมตนเองได้เนื่องความผิดปกติของพัฒนาการ
การพยาบาล (Nursing intervention)
4) การสร้างสัมพันธภาพเพื่อการบาบัดเป็นรายบุคคล เพื่อให้ไว้วางใจในตัวพยาบาล และมีทักษะในการสร้างสัมพันธภาพกับผู้อื่น
5) การให้คำแนะนาสาหรับครูเพื่อให้เกิดความเข้าใจและช่วยเหลือเด็กทั้งในด้านการ เรียนและการปรับตัวที่โรงเรียน
3) การใช้พฤติกรรมบไบัดเพื่อให้เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
โดยทั้งทางบ้านและ โรงเรียนควรมีบรรยากาศท่ีเข้าใจเป็นกาลังให้เด็ก ให้ความสนใจ ชื่นชม เมื่อเด็กมีพฤติกรรมที่ดี
หากเด็กทาผิดโดยไม่ต้ังใจสมควรใช้คาพูดปลอบใจ มีท่าทีเห็นใจ แนะนาวิธีแก้ไข ไม่ประจาน และไม่ลงโทษด้วยความรุนแรง หากมีพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมควรปราม ตักเตือนอย่างสม่าเสมอ เปิดโอกาสให้แก้ไขด้วยตนเอง
2) การจัดสภาพแวดล้อมให้ปลอดภัยและช่วยให้เด็กเกิดการเรียนรู้
1) ให้ความรู้ครอบครัวและส่งเสริมให้ครอบครัวมีส่วนร่วมในการวางแผนการดูแลเด็ก
6) การให้ความรู้เรื่องการใช้ยาเกี่ยวกับวิธีการใช้ การออกฤทธ์ิ ผลข้างเคียง และการ ติดตามประเมินอย่างต่อเนื่อง
นางสาวสุทธิดา. ไพรลักษณ์ ปี 2 ห้อง 2 เลขที่67