Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การเงินการคลังสุขภาพ (Health Care Financing) - Coggle Diagram
การเงินการคลังสุขภาพ (Health Care Financing)
ความเท่าเทียม
ความเป็นธรรม
ความเป็นจริง
การทำให้ได้รับสิทธิอันเท่าเทียมกัน
แนวทางการเงินการคลังในระบบสุขภาพ
กระบวนการสนับสนุนด้านการเงินให้กับสถานบริการสาธารณสุข (Process of funding health service) เพื่อใช้ตามพันธกิจหลักและพันธกิจรอง โดยมีเป้าหมาย (Gold) คือ สถานะสุขภาพสุขภาพของประชาชนดีขึ้นสูงสุด (Maximise health) อย่างถ้วนหน้า (Health for all)
เป้าหมายของการคลังสุขภาพ (Health financing objective)
1.ทำให้มีเงินเพียงพอในการจัดบริการสุขภาพ
ประเทศปานกลาง : จะทำอย่างไรจึงจะมีหลักประกัน สุขภาพครอบคลุม
ประเทศร่ำรวย : จะควบคุมค่าช้จ่ายที่เพิ่มขึนได้อย่างไร
ประเทศยากจน : จะหาเงินมาจากไหนให้พอในการจัดบริการ
2.จัดระบบกลไกให้ใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัดให้เกิดประโยชน์สูงสุด
การเลือกซื้อบริการ
การจ่ายค่าบริการ
เพื่อให้ผู้ให้บริการมีแรงจูงใจในการให้บริการ
มีประสิทธิภาพในการบริการสูง เช่น จ่ายค่าบริการอย่างไร และ อัตราเท่าใด
3.ให้ประชาชนเข้าถึงบริการสุขภาพที่มีประสิทธิภาพเท่าเทียมกัน
หน่วยบริการสุขภาพ
ระบบบริการภาคเอกชน
รายจ่ายโดยตรงจากครัวเรือน
รายจ่ายจากระบบประกันสุขภาพโดยสมัครใจ(ประกันชีวิต)
ขาดเสถียรภาพง่ายขึ้นอยู่กับภาวะวิกฤตเศรษฐกิจ (การถูกเลิกจ้างงาน รายจ่ายเพิ่มขึ้น)
หาบริการอื่นทดแทนได้
แหล่งการคลังอื่นๆ
เงินช่วยเหลือจากต่างประเทศ
เงินอื่นๆ
ไม่แน่นอนขึ้นอยู่กับสภาพความรุนแรงของปัญกาภายในประเทศ
ระบบบริการภาครัฐ
รายจ่ายจากองค์การปกครองส่วนท้องถิ่น
สวัสดิการข้าราชการ
งบประมาณภาครัฐ
มีเสถียรภาพมากได้จากากรเก็บภาษี (Taxation)
ขึ้นอยู่กับนโยบายทางการเมือง
สภาพปัญหา
ภาระเบี้ยประกัน
การจัดการบริหารด้านการเงินการคลัง
การลักลั่นของสิทธฺิประโยชน์
เกิดความซ้ำซ้อนนการบริหารจัดการ
ประเทศไทยมีระบบประกันสุขภาพอยู่ 3 ระบบ ซึ่งอยู่ภายใต้ 3 กระทรวงหลัก
กระทรวงแรงงาน
กระทรวงสาธารณสุข
กระทรวงการคลัง
ปัญหาระหว่างผู้เอาประกัน และผู้ห้บริการ
องค์กรประกัน
คัดเลือกกลุ่มเสี่ยง risk selection กรณี voluntary insurance
ผู้ให้บริการ
จริยธรรมการให้บริการ (Provider moral hazard)
การห้บริการเกินความจำเป็น (Over-service)
การให้บริการต่ำกว่าที่ควร (Under-service)
ผู้เอาประกัน
กลุ่มเสี่ยงซื้อกันมาก (Adverse selsction) กรณี voluntary insurance
จริยธรรมการใช้บริการ (User moral hazard) โดยการใช้บริการมากเกินจำเป็น
Moral hazard
หลังจากผู้เอาประกันทำสัญญาประกันแล้ว มีพฤติกรรมเปลี่ยนไป เพราะเกิดความรู้สึกว่า "ฉันจะทำอะไรก็ได้ เดี๋ยวประกันก็มาจ่าย" เป็นต้น
Adverse selection
มีความเสี่ยงสูง และมีความเสี่ยงต่ำ และผู้เอาประกันทั้งสองกลุ่มต่างรู้ดีแก่ใจว่าตนอยู่ในกลุ่มความเสี่ยงสูงหรือกลุ่มความเสี่ยงต่ำ แต่บริษัทประกันไม่ทราบ เพราะไม่สามารถประเมินความแตกต่างจากการดูภายนอกอย่างผิวเผินได้ บริษัทประกันจึงไม่สามารถแยกแยะว่าผู้เอาประกันเหล่านั้นมีความเสี่ยงสูงหรือต่ำที่จะเจ็บป่วย ทุพพลภาพ หรือเสียชีวิต
ประเภทของการประกันสุขภาพ
การประกันสุขภาพแบบบังคับ
การประกันสุขภาพแบบสมัครใจ
การสร้างหลักประกันสุขภาพจากระบบภาษี
รูปแบบการประกันสุขภาพในประเทศไทย
ประกันสังคม กองทุนเงินทดแทน การประกันภัยภายใต้ พรบ. คุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ (การประกันสุขภาพภาคบังคับ)
ระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้า
สวัสดิการรักษาพยาบาล และ พนักงานรัฐวิสาหกิจ
ประกันกับบริษัทเอกชน (สมัครใจ)
ปัญหาระบบสุขภาพในประเทศไทย
การเลือกและการให้สิทธิกับผู้มีรายได้น้อย ผู้ป่วยเลือกซื้อบัตรสุขภาพเป็นส่วนใหญ่ (adverse selection) อัตราการคืนทุนต่ำในบัตรสุขภาพ การให้บริการน้อยกว่าที่ควรในประกันสังคม (เอกชน) ค่าช้จ่ายของสวัสดิการข้าราชการสูงมาก ความไม่เท่าเทียมของบริการและค่าช้จ่ายระหว่างระบบ