Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กลุ่มที่ 5 ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับแผนพัฒนาการศึกษาแห่งชาติ,…
กลุ่มที่ 5
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับแผนพัฒนาการศึกษาแห่งชาติ
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง (Sufficiency Economy) **
"เศรษฐกิจพอเพียง"** เป็นปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 9 ทรงมีพระราชดำรัสชี้แนวทางการดำเนินชีวิตแก่พสกนิกรชาวไทยนับตั้งแต่ พ.ศ.2517 เป็นต้นมา เพื่อเป็นแนวทางการแก้ปัญหาให้รอดพ้นจากกระแสโลกาภิวัฒน์
1. เศรษฐกิจพอเพียง
หมายถึง ความสามารถของชุมชน เมือง รัฐ ประเทศหรือภูมิภาคหนึ่ง ในการผลิตสิ้นค้าและบริการทุกชนิด เพื่อเลี้ยงสังคมนั้น ๆ ได้โดยไม่ต้องพึ่งพาปัจจัยต่าง ๆ ที่เราไม่ได้เป็นเจ้าของ
องค์ประกอบของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ความมีเหตุผล
การมีภูมิคุ้มกันที่ดี
ความพอประมาณ
เงื่อนไขความรู้
เงื่อนไขคุณธรรม
แผนพัฒนาการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2560 - 2579
ฉบับที่ 10
จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต มุ่งพัมนาให้มีความรู้คู่คุณธรรม พึ่งตนเองได้ ทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ สรรค์สร้างสังคมที่สงบสุข มีความสามารถที่เป็นสากล ดำรงไว้ซึ่งความเป็นไทย
ฉบับที่ 11
พัฒนาคุณภาพการศึกษา และสร้างโอกาสทางการศึกษาให้เรียนรู้ตลอดชีวิต เพื่อให้คนไทยพร้อมทั้งร่างกาย จิตใจ และสติปัญญา เป็นพลเมืองที่ดี มีภูมิคุ้มกันต่อการเปลี่ยนแปลง และตอบสนองต่อทิศทางการพัฒนาประเทศ
ฉบับที่ 5 - 9
เน้นการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม เป็นช่วงมีการเปลี่ยนแปลงพัมนาเศรษฐกิจสังคมคุณภาพประชาชนตกต่ำ ค่านิยมเปลี่ยนแปลง การศึกษาถูกละเลยมองข้าม
ฉบับที่ 12
ยึดคนเป็นศูนย์กลางของการพัฒนา มุ่งสร้างคุณภาพชีวิตที่ดี พัฒนาคนให้เป็นคนที่สมบูรณ์ มีวินัย ใฝ่รู้ มีความรู้ มีทักษะ มีความคิดสร้างสรรค์ มีทัศนคติที่ดี รับผิดชอบต่อสังคม มีคุณธรรมจริยธรรม
ฉบับที่ 1 - 4
เน้นเศรษฐกิจเป็นหลัก เป็นตัวนำ มองว่าประเทศอุดมสมบูรณ์ มีรายได้ดี เศรษฐกิจดี ให้ความสำคัญการพัฒนาเศรษฐกิจ มองข้ามการพัฒนาคน
ยุทธศาสตร์ของแผนการศึกษาแห่งชาติ
ยุทธศาสตร์ที่ 3
การพัฒนาศักยภาพคนทุกช่วงวัยและการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้
ยุทธศาสตร์ที่ 4
การสร้างโอกาส ความเสมอภาคและความเท่าเทียมทางการศึกษา
ยุทธศาสตร์ที่ 2
การผลิตและพัฒนากำลังคน การวิจัยและนวัตกรรม เพื่อสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ
ยุทธศาสตร์ที่ 5
การจัดการศึกษาเพื่อสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
ยุทธศาสตร์ที่ 1
การจัดการศึกษาเพื่อความมั่นคงของสังคมและประเทศชาติ
ยุทธศาสตร์ที่ 6
การพัฒนาประสิทธิภาพของระบบบริหารจัดการศึกษา
การจัดการศึกษาไทย
เป้าหมายสำคัญของการขับเคลื่อน คือ การทำให้เด็กรู้จักความพอเพียง ปลูกฝัง อบรม บ่มเพาะ ให้เด็กมีความสมดุลทางเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม และวัมนธรรม โดยสอดแทรกแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงให้เข้าเป็นส่วนหนึ่งของหลักสูตรและสาระการเรียนรู้ต่าง ๆ