Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
นางสาวสุกฤตา แพงอุ่ม ปี2 รุ่น37 เลขที่88 (62111301091), การพยาบาลผู้ป่วยเด…
นางสาวสุกฤตา แพงอุ่ม ปี2 รุ่น37 เลขที่88 (62111301091)
การพยาบาลผู้ป่วยเด็กที่มีปัญหาระบบหัวใจและหลอดเลือด
กลุ่มโรคหัวใจแต่กำเนิด
ชนิดไม่เขียว
กลุ่มที่มีการไหลเวียนลัดของเลือดหัวใจซีกซ้ายไปขวา
VSD
มีรูรั่วที่บริเวณผนังกั้นระหว่าง Ventricle เนื่องจากมีการสร้างผนังที่ไม่สมบูรณ์จึงเกิดการติดต่อทั้งซีกซ้ายและขวา
อาการและอาการแสดง
มีอาการเหนื่อยง่ายเฉพาะเวลาดูดนม
พัฒนาการเจริญเติบโตช้า
เหงื่อออกตามลำตัวมาก
ASD
มีรูรั่วที่บริเวณผนังกั้นระหว่าง Atrium เนื่องจากมีการสร้างผนังที่ไม่สมบูรณ์
อาการและการแสดง
ไม่มีอาการผิดปกติ
เจริญเติบโตช้า
อ่อนเพลียง่าย
บางรายติดเชื้อทางเดินหายใจ
PAD
มีเลือดไปเลี้ยงที่ปอดมาก ความผิดปกติคือ Ductus arteriosus ยังเปิดอยู่หลังเด็กเกิด เกิดการติดต่อระหว่างหลอดเลือดแดงพัลดมนารี และหลอดเลือดดอออร์ต้าส่วนล่างจะกลายเป็นพังผืด เกิดการปิดกั้นของหลอดเลือดหลังเด็กเกิด 1-4 สัปดาห์
สาเหตุ
เกิดก่อนกำหนด
ภาวะออกซิเจนในเลือดต่ำ
การติดเชื้อ
อาการและอาการแสดง
ขนาดเล็ก
ไม่มีอาการ
ขนาดใหญ่
มาด้วยอาการของหัวใจซีกซ้าย
หายใจเร็ว
เหงื่ออกมาก
นน.ขึ้นช้า
กลุ่มที่มีการอุดกั้นการไหลเวียนของเลือด
AS
การตีบของลิ้นเอออร์ติก หรือมีการอุดกั้นของทางของเวนตริเคิลซ้าย ทำให้บีบตัวส่งเลือดแดงผ่านลิ้นเอออร์ติกที่ตีบไปเลี้ยงร่างกายได้ไม่สะดวกหรือน้อยลง
อาการและอาการแสดง
มีอาการอ่อนเพลัยง่ายเวลาเล่น
เจ็บหน้าอก
PS
มีการตีบของลิ้นพัลโมนารี หรือมีการอุดกั้นของทางออกของเวนตริเคิลขวา ทำให้บีบตัวส่งเลือดดำไปยังปอดไม่สะดวกหรือน้อยลง
อาการและอาการแสดง
ภาวะหัวใจวาย หรืออาการเขียวเล็กน้อย
เหนื่อยง่าย
เจ็บหน้าออก เป็นมากขึ้นเวลาออกกำลังกาย
CoA
มีการคอดหรือตีบแคบที่หลอดเลือดเอออร์ต้าที่หลอดเลือดDuctus arteriosus ทำให้เลือดส่วนบนไปยังส่วนล่างไม่สะดวก จึงพบความดันแขนสูงกว่าขวา
อาการและอาการแสดง
หายใจแรงและเร็ว
เหนื่อยหอบ
เหงื่ออกมาก
การตรวจชีพจรที่ขาทั้ง 2 ข้างเบาหว่า
การพยาบาล
การประเมินภาวะสุขภาพ
การซักประวัติ
ประวัติเป้นลม หน้ามืด
ติดเชื้อระบบหายใจได้บ่อย
การตรวจร่างกาย
หัวใจเต้นเร็ว
อาาการเขียว
หายใจเร็ว
หายใจลำบาก
เหงื่อออกมากกว่าปกติ
เจ็บหน้าอก
บวม
CoA เจ็บบริเวณขา
การประเมินภาวะจิตสังคม
ชนิดเขียว
กลุ่มที่มีอาการเขียวไปเลี้ยงปอดน้อย มีภาวะสมองขาดออกซิเจนอย่างเฉียบพลัน
TOF
มีความผิดปกติ
การตีบของลิ้นพัลโมนารี่
ผนังระหว่างเวนตริเคลมีรูรั่ว
ตำแหน่งของลิ้นเออร์ต้าติดเลื่อไปด้านขวา
มีการหนาตัวของเวนตริเคล
อาการและอาการแสดง
เขียวทั่วร่างกาย
ภาวะหัวใจวาย มีปริมาณเลือดไหลจากหัวใจซีกซ้ายไปขวามาก จึงมีเลือดที่ปอดมากขึ้น
PA
TA
กลุ่มที่มีอาการเขียวมีเลือดไปปอดมาก อาการเขียว และภาวะหัวใจวาย
Transposition of great arteries
มีเลือดไปเลี้ยงปอดมากซึงะบได้บ่อยที่สุด มีความผิดปกติ คือมีการสลับที่กันของหลอดเลือดแดงใหญืที่ออกจากหัวใจได้อก่ หลอดเลือดเอออร์ต้าและหลอดเลือดพัลโมนารี่
อาการและอาการแสดง
เขียวมาตั้งแต่กำเหนิด
หอบเหนื่อย
อาการของหัวใจวาย
การพยาบาล
การประเมินภาวะสุขภาพ
การซักประวัติ
การตรวจร่างกาย
การประเมินภาวะทางจิตสังคม
กลุ่มโรคหัวใจที่เกิดภายหลัง
infective endocarditis
การอักเสบซึ่งเกิดจากการติดเชื้อ
เยื่อบุหัวใจชั้นในสุด
เยื่อบุผิวภายในหัวใจ
ลิ้นหัวใจ
เนื้อเยื่อข้างเคียง
หลอดเลือดแดงของหัวใจ
อื่นๆ
ในลิ้นหัวใจเทียม
ผนังหัวใจที่ผิดปกติ
สาเหตุ
เชื้อ
แบคทีเรีย (มากสุด)
streptococcus viridans
staphylococcus aureus
เชื้อรา
ริคเกทเซีย
ไวรัส
อาการและอาการแสดง
มีไข้ต่ำๆ
อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร น้ำหนักลด ปวดเมื่อย เหนื่อยง่าย
เสี่ยงฟู่ของหัวใจ (heart murmur)
การตายของสมอง
ม้ามโต กดไม่เจ็บ อาจพบตับโต
ภาวะซีด
การรักษา
ให้ยาปฏิชีวนะในขนาดสูงทางหลอดเลือดดำ
ควรติดตามเจาะเลือดส่งเพาะเชื้อในเลือดเป็นระยะๆ
ตรวจสอบหาแหล่งของการติดเชื้อที่ทำให้เกิดIE
ฟัน
ทางเดินปัสสาวะ
การป้องกัน
ให้ยาปฏิชีวนะก่อนหรือหลังการทำหัตถการที่มีความเสี่ยง
การทำฟัน
การเจาะเลือด
ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ใส่สายสวนปัสสาวะ
ตัดต่อมทอนซิล
การพยาบาล
การประเมินภาวะสุขภาพ
1.ซักประวัติ
2.การตรวจร่างกาย
3.การประเมินภาวะจิตสังคม
4.ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
rheumatic heart disease
ไข้รูห์มาติค
อาการและอาการแสดง
1.major criteria
carditis
polyarthritis
chorea หรือ sydenham's chorea
subcutaneous nodules
erythema marinatum
2.minor criteria
ไข้ต่ำๆ
polyarthralgia
เลือดกำเดาไหล
ปวดท้อง รู็สึกไม่สบาย อ่อนเพลีย ปวดเมื่อย เหงื่ออกมาก เจ็บหน้าอกซีด น้ำหนักหนด
เคยเป็นไข้รูห์มาติค
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
1.การเพาะเชื้อจากบริเวณคอ
2.antistreptolysin O
การวินิจฉัยโรค
jone's criteria
2 major criteria
1 major criteria และ 2 minor criteria
การรักษา
1.ให้ยาปฏิชีวนะ
2.ให้ยาต้านการอักเสบของหัวใจและข้อ
3.ให้นอนพักจนกว่าจะควบคุมภาวะหัวใจวายได้
4.ผู้ป่วยที่มีภาวะหัวใจวาย ให้รักษาโดยยาdigitalis
การพยาบาล
การประเมินภาวะสุขภาพ
1.การซักประวัติ
2.การตรวจร่างกาย
3.การประเมินภาวะจิตจังสังคม
4.ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
โรคหัวใจรูห์มาติค
เกิดตามหลังไข้รูห์มาติค ทำให้อักเสบหัวใจทุกชั้น รวมทั้งเยื่อบุหัวใจและลิ้นหัวใจ
เกิดตามหลังโรครูห์มาติค ทำให้เกิดการอักเสบของหัวใจ ส่งผลให้เกิดภาวะหัวใจวาย ตลอดจนลิ้นหัวใจรั่วหรือตีบ
การพยาบาลเด็กที่มีภาวะหัวใจวาย
หัวใจไม่สูบฉีดเลือด
สาเหตุ
หัวใจทำงานมาก เนื่องจากเลือดมากขึ้นจากการรั่วไหล เลือดในเวนตริเคิลมากขึ้น
เลือดไหลลัดจากหัวใจซีกขวา
การรั่วลิ้นหัวใจ
เลือดไปปอดมากขึ้น
ความผิดปกติหัวใจทำงานมาก เนื่องจากความดันเวนตริเคิลสูง เกิดจากการอุดกั้นของทางออกของเวนตริเคิล
ความผิดปกติกล้ามเนื้อหัวใจ ทำให้หัวใจทำงานลดลง
จังหวะการเต้นหัวใจผิดปกติ ส่งผลให้ปริมาณเลือดไหลจากหัวใจลดลง
อาการและอาการแสดง
หัวใจซีกซ้ายวาย
หายใจเร็ว
ปีกจมูกบาน
อกบุ๋ม
เสียง crepitation เนื่องจาก มี pulmonary congestion
หัวใจซีกขวาวาย
หลอดเลือดดำที่คอโป่งพอง
หน้าบวม
ตับโต
ม้ามโต
คลื่นไส้
อาเจียน
ปวดท้อง
แขนขาเย็น บวม
การรักษา
Lanoxin
เพิ่มแรงบีบตัวกล้ามเนื้อหัวใจ ทำให้หัวใจเต้นช้า
อัตราการเต้นหัวใจลดลง cardiac output เพิ่ม มีเลือดไปเลี้ยงส่วนต่างๆ ลดการคั่งเลือด
เพิ่มปัสสาวะออกจากร่างกาย (diuresis) ลดแรงต้านทานหลอดเลือดส่วนปลาย (afterload) หัวใจจึงบีบเลือดไปเลี้ยงส่วนต่างๆ
การพยาบาล
การประเมินภาวะสุขภาพ
ซักประวัติ
ติดเชื้อบ่อย
เด็กเหนื่อยง่ายโดยเฉพาะเวลาดูดนม
ออกแรงแล้วเหนื่อย
เด็กโตช้า
เหงื่ออกมาก
กระสับกระส่าย
ปัสสาวะน้อย
หายใจแรง
หัวใจเต้นเร็ว
ชีพจรเบาเร็ว
มือเท้าเย็น
ความดันโลหิตสูง
ฟังได้ยินเสียงฟู่
ซีดเขียว
Kawasaki disease
สาเหตุ
รับการกระตุ้นทำให้เกิดการตอบสนองทางอิมมูนผิดปกติ จึงเกิดอาการ
แบคทีเรีย
ไวรัส ริกเก็จเซีย
พยาธิสรีรวิทยา
การอักเสบที่ผนังหลอดเลือดแดงโคโรนารี่และหลอดเลือดแดงขนาดกลางอื่นๆ
มี Platelet thrombi อุดหลอดเลือดแดง
อาการและอาการแสดง
ไข้
รายที่มีความผิดปกติหลอดเลือดแดง coronary และไม่รับการรักษาจะไข้นานหลายสัปดาห์
ไข้สูงเป็นพักๆ 5 วัน
ตาแดง
ทั้ง. 2. ข้าง
2-4. วันแรกหลังจากมีไข้
แดงบริเวณตาขาว รอบม่านตาไม่ค่อยแดง
ปากแดงและแห้ง
ตั้งแต่วันแรกๆของโรค
ริมฝีปากแตก เลือดออก เยื่อบุปากแดงไม่มีแผล
ลิ้นแดงมี prominent papillae ที่ strawberry tongue
การเปลี่ยนแปลงมือและเท้า
มือ เท้า บวม แดง เจ็บ
2-3 สัปดาห์หลังไข้ผิวหนังลอก เริ่มจากรอบเล็บมือเล็บเท้า ลามไปทั้งฝ่ามือฝ่าเท้า
4-6 สัปดาห์หลังไข้ มีรอยขีดเล็กๆแนวขวางเล็บ เรียก Beau Lina
ผื่น
ต่อมน้ำเหลืองโต
พบที่ anterior cervical triangle
เป็นข้างเดียว
เส้นผ่าศูนย์กลาง 1.5 ซม.
ผิวหนังไม่แดง กดไม่เจ็บ
ผลตรวจห้องปฏิบัติการ
WBC เพิ่ม เป็นตัวอายุน้อย
เกร็ดเลือดสูง สัปดาห์ที่ 2-3
เลือดจาง ESR และ C-reactive protein สูง
มีเม็ดเลือดขาวในปัสสาวะ
เม็ดเลือดขาวสูงในน้ำไขสันหลัง
Transaminase และ bilirubin ใน serum สูงเล็กน้อย
การพยาบาล
1 ประเมินการทำงานหัวใจ ปอด หลอดเลือด อาการหัวใจอักเสบ สังเกตจังหวะการเต้นหัวใจ การเจ็บหน้าอก EKG เปลี่ยน (ST segment ต่ำ) หายใจขัด
2 ประเมินการไหลเวียนเลือดที่แขนขา
เมื่อ thrombi ทำให้เลือดไหลเวียนไม่ดี และจะติดเชื้อและ necrosis นิ้วมือนิ้วเท้า
3 วัด v/s ขณะให้ gamma globulin สังเกตการแพ้ ถ้าแพ้ให้หยุด
การมีไข้สูง ดูแลตามอาการ
ดูปฏิกิริยาข้างเคียงของยา
แอสไพรินมีเลือดออกและกัดกระเพาะอาหาร
5 ตวงและบันทึกน้ำดื่ม 24 ชม.
6 อาหารไม่เพียงพอ ป้องกันการขาดน้ำ ถ้าหัวใจวายมีบวมลดเค็ม
7 ชั่งน้ำหนักทุกวัน ดูอาการบวมของหัวใจวาย
8 ทำความสะอาดปาก ฟัน ช่องปาก เยื่อบุอักเสบกินอาหารอ่อน
9 ระวังติดเชื้อผิวหนัง ไม่ใส่เสื้อผ้าที่ร้อน
10 ลดความไม่สุขสบาย
ผื่น ให้ยาลดอาการคัน
การอักเสบ antiplatelet และเป็น analgesic ให้แอสไพริน
11 จัดสภาพแวดล้อมให้สงบ
12 ลดความวิตกกังวล
13 ดูแลสุขภาพที่บ้าน