Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพจิตและจิตเวช, นาวสาววชิราภรณ์ สุธรรมปวง…
ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพจิตและจิตเวช
ทฤษฎีจิตวิเคราะห์ (Psychoanalytic Theory) Sigmund Freud บิดาแห่งทฤษฎีจิตวิเคราะห์ พฤติกรรมของคนเกินจากแรงขีบเคลื่อนต่างๆ แรงจูงใจจากจิต ใต้สำนึก และจากสัญชาติญาณ ตามหลัก psychosexual development
ระดับของจิตใจ (Level of mind)
โครงสร้างของจิตใจ (Structure of mind)
สัญชาตญาณ (Instinct)
ทฤษฎีพฤติกรรมนิยม (Behavior theory) แนวคิดมีการใช้ทฤษฏีการเรียนรู้คู่ไปกับการเกิดพฤติกรรมของมนุษย์
แรงขับ มีการวางเงื่อนไข
สิ่งเร้า
การตอบสนอง ต้องมีเงื่อนไข
การเสริมแรง ด้านบวกและด้านลบ
ทฤษฎีปัญญานิยม (Cognitive theory)
ทฤษฎีการบำบัดแบบเน้นเหตุผล และ พฤติกรรม (Rational-Emotive Behavior Therapy: REBT)
A. ตัวกระตุ้น แม่สนใจน้องมากกว่าฉัน
B.ความเชื่อ ฉันเชื่อว่าแม่รักน้องมากกว่าฉัน เพราะฉันเรียนไม่เก่ง
C. การตอบสนองทางอารมณ์ที่เกิดตามมา ฉันจึงรู้สึกน้อยใจ
ทฤษฎีทางปัญญาของเบค (Beck’s Cognitive Theory)
สถานการณ์ (event)
ความคิดอัตโนมัติ (Autonomic thought)
อารมณ์ (EMOTION)
พฤติกรรม (Behavior)
สรีระ (Physiology)
การประยุกต์ใช้ในการพยาบาล
สุขภาพจิตและจิตเวช
เปลี่ยนแปลงความเชื่อที่ไม่สมเหตุสมผล
ปรับเปลี่ยนความคิดทางลบ
สะท้อนพฤติกรรมทางบวก
ส่งเสริมความคิดทางบวก
ทฤษฎีมนุษย์นิยม (Humanistic theory)
คาร์ลโรเจอร์
(Roger)
ความสอดคล้องและความจริงใจ (Congruence and
genuineness)
การยอมรับทางบวกอย่างไม่มีเงื่อนไข (Unconditional positive regard or acceptance)
ความเข้าอกเข้าใจ (Empathy)
อับราฮัม ฮาโรลด์มาสโลว์ (Maslow)
Physiological Needs ความต้องการพื้นฐาน
Safety Needs ความต้องการด้านความปลอดภัย
Love and belonging Needs ความต้องการเป็นที่รักและเป็นส่วนหนึ่ง
Esteem Needs ความต้องการมีคุณค่า
elf-Actualization Needs ความปรารถนาที่จะสามารถเติมเต็มภายในตนเองได้อย่างสมบูรณ์
ทฤษฎีการพยาบาล เป็นการสร้างสัมพันธภาพระหว่างพยาบาลและผู้ป่วยบำบัด
1) unique biological-psychological-spiritual-sociological structure คนไข้แต่ละคนมีความแตกต่างกัน
2) ภาวะ Anxiety จิตใจ ส่งผลต่อสัมพันธภาพ
3) หากไม่ได้รับการพัฒนาตามช่วงวัย จะติดไปถึงวัยผู้ใหญ่ ทำให้มีผลต่อการปรับตัวและการสร้างสัมพันธภาพกับผู้อื่น
4) ความสัมพันธ์อันดีระหว่างผู้บำบัดกับผู้รับการบ าบัด (Therapeutic nurse-patient relationship) ทำให้ผู้ป่วยเกิดความเข้าใจในปัญหาของตน และเป็นผลดีต่อการพัฒนา
นาวสาววชิราภรณ์ สุธรรมปวง 62170050