Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลทารกแรกเกิดที่มีภาวะเสี่ยงสูง, นางสาวณัฐณิชา คำสุววรรณ เลขที่26…
การพยาบาลทารกแรกเกิดที่มีภาวะเสี่ยงสูง
จำแนกได้ ดังนี้
การจำแนกตามน้ำหนักแรกเกิด
low birth weight infant น้ำหนักแรกเกิดน้อยกว่า 2,500 กรัม แบ่งเป็น
very low birth weight ต่ำกว่า 1,500 กรัม
extreme low birth weight ต่ำกว่า 1,000 กรัม
normal birth weight infant น้ำหนักปกติแรกเกิด 2,500-4,000 กรัม
จำแนกตามอายุครรภ์
ทารกคลอดก่อนกำหนด (preterm infant) 37 wks/ต่ำกว่า
ทารกแรกเกิดครบกำหนด (term or mature infant) มากกว่า 37 wks - 41 wks เต็ม
ทารกแรกเกิดเกินกำหนด (post term infant) มากกว่า 41 wks
ทารกคลอดก่อนกำหนด
สาเหตุ/ปัจจัยเสริม
มารดา
มารดาอายุน้อยหรืออายุมากเกิน35ปี
มีโรคประจำตัว
มีประวัติคลอดก่อนกำหนด
มดลูกขยายมากเกินไป
ติดเชื้อ
ดื่มสุรา สูบบุรี่
ทารก
โครโมโซมผิดปกติ
ติดเชื้อ
ลักษณะทารก
กล้ามเนื้อระหว่างกระดูกซี่โครงยังเจริญไม่ดี กระดูกซี่โครงค่อนข้างอ่อนนิ่ม ขณะหายใจอาจถูกกระบังลมดึงรั้งเข้าไปเกิด intercostal retraction
หายใจไม่สม่ำเสมอ มีการกลั้นหายใจเป็นระยะ (periodic breathing) เขียวและหยุดหายใจได้ง่าย (Apnea)
ความตึงตัวของกล้ามเนื้อไม่ดี
เสียงร้องเบาและร้องน้อยกว่าทารกแรกเกิดครบกาหนด
หัวนมมีขนาดเล็ก หรือมองไม่เห็นหัวนม
ท้องป่องเพราะกล้ามเนื้อหน้าท้องไม่แข็งแรง
ขนาดของอวัยวะเพศค่อนข้างเล็ก
ปัญหาที่พบบ่อย
การควบคุมอุณหภูมิของร่างกาย
การวัดอุณหภูมิทารก
ทางทวารหนัก
ก่อนกำหนด วัดนาน 3 นาที ลึก 2.5 ซม.
ครบกำหนด วัดนาน 3 นาที ลึก 3.0 ซม.
ทางรักแร้
เกิดก่อนกำหนด วัดนาน 5 นาที
ครบกำหนด วัดนาน 8 นาที
ระบบการไหลเวียนโลหิต
ระบบการหายใจ
ระบบทางเดินอาหาร
ระบบประสาท
ภาวะหลอดเลือดหัวใจเกิน (Patent Ductus Arteriosus)
อาการและอาการแสดง
หายใจเร็ว
หอบเหนื่อย
รับนมได้น้อย
ท้องอืด(เลือดไหลลัดไปปอด ทาให้เลือดไปเลี้ยงลาไส้ลดลง)
น้าหนักไม่ขึ้น
การรักษา
การรักษาทั่วไป ให้ยาควบคุมอาการถ้ามีภาวะหัวใจวาย
การรักษาจำเพาะ
ใช้ยา เพื่อช่วยยับยั้งการสร้าง prostagland
inIndomethacin ขนาดที่ให้ 0.1-0.2 มก./กก.ทุก 8 ชม.
ข้อห้ามใช้
BUN > 30 mg/dl , Cr > 1.8 mg/dl
Plt. < 60,000 /mm3
urine < 0.5 cc/Kg/hr. นานกว่า 8 hr.
มีภาวะ NEC
Ibuprofen
ข้อห้ามใช้ * BUN > 20 mg/dl , Cr > 1.6 mg/dl
การผ่าตัด PDA ligation
ภาวะตัวเหลืองในทารกแรกเกิด (Hyperbilirubinemia)
แบ่งเป็น
ภาวะตัวเหลืองจากสรีรภาวะ (Physiological jaundice)
ภาวะตัวเหลืองจากพยาธิภาวะ ( Pathological jaundice)
สาเหตุ
มีการสร้างบิลลิรูบินเพิ่มขึ้นมากกว่าปกติ จากภาวะต่างๆที่มีการทำลายเม็ดเลือดแดง
หมู่เลือดของแม่ลูกไม่เข้ากัน
มีความผิดปกติเยื่อหุ้มเม็ดเลือดแดง ทาให้เม็ดเลือดแดงแตกง่ายกว่าปกติ
มีความผิดปกติของเอนไซด์ในเม็ดเลือดแดง
มีเลือดออกในร่างกาย
เม็ดเลือดแดงเกิน (polycythemia )
โรคธาลัสซีเมีย
มีการดูดซึมของบิลิรูบินจากลาไส้มากขึ้น
มีการกำจัดบิลิรูบินได้น้อยลงจากท่อน้ำดีอุดตัน การขาดเอนไซด์บางชนิดแต่กำเนิด
มีการสร้างบิลิรูบินเพิ่มมากขึ้นร่วมกับการกาจัดได้น้อยลง
มีการดูดซึมของบิลิรูบินจากลำไส้มากขึ้นจากภาวะที่เกี่ยวข้องกับการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
อาการ
ระยะแรก
ซึม ดูดนมน้อยลง
ตัวอ่อนปวกเปียก
เกร็งหลังแอ่น
ชัก มีไข้
ระยะยาว
มีการเคลื่อนไหวผิดปกติ
มีความผิดปกติของการได้ยินและการเคลื่อนไหวลูกตา
พัฒนาการช้า ระดับสติปัญญาลดลง
การวินิจฉัย
การซักประวัติ
ประวัติมีบุคคลในครอบครัวมีโรคเม็ดเลือดแดงแตกง่ายหรือไม่
มารดามีโรคประจาตัวการได้รับยาการติดเชื้อในระหว่างตั้งครรภ์หรือไม่
ประวัติการคลอดของทารก คะแนน Apgar การได้รับบาดเจ็บในระยะคลอด
การตรวจร่างกาย ซีด เหลือง ตับ ม้ามโตหรือไม่มีจุดเลือดออกบริเวณใดหรือไม่
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ( CBC, Coombs’test, LFT, G6PD)
การรักษา
การส่องไฟ (phototherapy)
การเปลี่ยนถ่ายเลือด (exchange transfusion)
การพยาบาล
ปิดตาทารกด้วยผ้าปิดตา (eyes patches) เพื่อป้องกันการกระคายเคืองของแสงต่อตา
เช็ดทำความสะอาดตาและตรวจตาของทารกทุกวัน
ควรเปิดตาทุก 4 ชม.และเปลี่ยนผ้าปิดตาทุก 8-12 ชม.
ระหว่างให้นมควรเปิดผ้าปิดตาเพื่อให้ทารกได้สบตากับมารดา
ถอดเสื้อผ้าทารกออกและจัดให้ทารกอยู่ในท่านอนหงาย หรือนอนคว่าและเปลี่ยนท่านอนทุก 2-4 ชม.
ดูแลให้ทารกได้นอนอยู่บริเวณตรงกลางของแผงหลอดไฟ ห่างจากหลอดไฟ 35-50 ซม.
บันทึกและรายงานการเปลี่ยนแปลงของสัญญาณชีพทุก 1-4 ชม.
สังเกตลักษณะอุจจาระ
บันทึกลักษณะและจำนวนอุจจาระอย่างละเอียดเพื่อประเมินภาวะสูญเสียน้ำ
ดูแลให้ทารกได้รับการตรวจเลือดหาระดับบิลิรูบินในเลือดอย่างน้อยทุก 12 ชม.
สังเกตภาวะแทรกซ้อนจากการได้รับการส่องไฟรักษา
Respiratory Distress Syndrome (RDS)
ปัจจัยที่เสี่ยงต่อการเกิดโรค
มารดามีเลือดออกทางช่องคลอดก่อนกำหนด
ทารกมีภาวะ hypothermia, Perinatal asphyxia
มารดาเป็นเบาหวานขณะตั้งครรภ์
ครรภ์ก่อนบุตรมีภาวะ RDS
สาเหตุ
เกิดจากการขาดสารลดแรงตึงผิวที่ผิวของถุงลม
โครงสร้างของปอดมีพัฒนาการไม่เต็มที่
ซึ่งสาร surfactant ทำหน้าที่ให้ถุงลมคงรูปไม่แฟบขณะหายใจออก สร้างจาก aveolar call type II ที่ผนังถุงลมเมื่ออายุครรภ์ประมาณ 22-24wks และสร้างมากขึ้นจนเพียงพอหลัง 35 wks
อาการและอาการแสดงอาการ
ระบบไหลเวียนโลหิตและระบบทางเดินหายใจ
หายใจเร็ว (tachypnea) มากกว่า 60 ครั้ง / นาทีหรือหายใจลาบาก (dyspnea)
หายใจ หน้าอกและหน้าท้องไม่สัมพันธ์กัน
(expiratory grunting)
ซีด
BP ต่า
ระบบทรวงอก: หน้าอกปุ่ม (retraction) บริเวณ Intercostal, Subcostal และ Substernal retraction จากการหดตัวอย่างแรงของกล้ามเนื้อที่ช่วยหายใจ
ระบบทางเดินอาหาร: ดูดนมไม่ดี อาเจียน ท้องอืด
ระบบประสาท: ซึม กระสับกระส่าย reflex ลดลง กระหม่อมโปร่งตึง
ระบบผิวหนัง: ตัวลาย ผิวหนังเย็น ตัวเหลือง มีจุดเลือดออก
เมตาบอลิซึม: Hypoglycemia ภาวะ acidosis
การรักษา
การให้ออกซิเจนตามความต้องการของทารก
ป้องกันไม่ให้เกิดภาวะแทรกซ้อนจากการได้รับออกซิเจน โดยการปรับลดความเข้มข้น และอัตราไหลของออกซิเจน ภาวะแทรกซ้อนจากการได้รับออกซิเจน
ให้สารลดแรงตึงผิวเพื่อทาให้ความยืดหยุ่นของปอดดีขึ้น ลดความรุนแรงของภาวะหายใจลาบาก
Perinatal asphyxiaภาวะขาดออกซิเจนของทารกแรกเกิด
ผลของการขาดออกซิเจนแรกคลอด
ระบบหัวใจและหลอดเลือด
ศูนย์ควบคุมการทางานของหัวใจถูกกดเป็นผลให้หัวใจเต้นช้าลง
การขาดออกซิเจนและการลดลงของไกลโคเจนของหัวใจ ทาให้กล้ามเนื้อหัวใจทางานมีประสิทธิภาพลดลง หัวใจพองขยาย ความดันโลหิตต่าเกิดภาวะช็อกจากหัวใจ
การขาดออกซิเจนมากของหัวใจ ทาให้เกิดภาวะหัวใจวาย
การมีเลือดไปเลี้ยงเนื้อเยื่อหัวใจลดลง ทาให้ลิ้นหัวใจ หลอดเลือดหัวใจถูกทาลาย
ลิ้นหัวใจปิดไม่สนิท
ระบบหายใจ
ศูนย์หายใจถูกกดทาให้หายใจช้า หรือหยุดหายใจ
เนื้อเยื่อปอดขาดออกซิเจนมาก ๆ ทาให้เซลล์ถุงลมไม่สามารถสร้างสารลดแรงตึงผิวได้เกิดกลุ่มอาการหายใจลาบาก
การรั่วของซีรั่มจากหลอดเลือดปอด จากเยื่อบุหลอดเลือดเสียหน้าที่
ทาให้เกิดภาวะปอดคั่งน้า
ระบบประสาทกลาง
ทารกจะมีการเปลี่ยนแปลงระดับการรู้สติ หายใจไม่สม่าเสมอ หยุดหายใจ รีเฟล็กซ์ลดลงกำลังกล้ามเนื้อลดลงหรืออาจชักได้
เลือดออกในสมองจากหลอดเลือดของสมองเสียความคงทน แตกได้ง่าย
ภาวะชักจากคอร์เท็กซ์ของสมองถูกทาลาย
ภาวะสมองบวมจากการคั่งของสารน้าทั้งภายในและภายนอกเซลล์ของสมอง
ระบบการขับถ่าย
ไตจะไวต่อภาวะขาดออกซิเจน การขาดออกซิเจนและเลือดไปเลี้ยงทำให้หลอดฝอยของไต หรือเนื้อไตเกิดเนื้อตายเฉียบพลัน
ระบบทางเดินอาหาร
เลือดไปเลี้ยงระบบทางเดินอาหารลดลง ทำให้เกิดภาวะลำไส้เน่า
ภาวะน้ำตาลในเลือดต่า บิลิรูบินในเลือดสูง
การรักษาประคับประคองและการรักษาตามอาการสาคัญที่สุด
การสังเกตอาการอย่างใกล้ชิดและต่อเนื่อง
ให้ความอบอุ่นและควบคุมทารกให้อุณหภูมิปกติ
ให้ออกซิเจนที่เหมาะสม
งดอาหารทางปากชั่วคราว ให้สารน้าและอาหารทางหลอดเลือด
ให้เลือด ถ้าความเข้มข้นของเลือดต่ำหรือเสียเลือด
หลังจาก 12 ชั่วโมง ให้ระวังอาการชัก
พิจารณาให้ยาปฏิชีวนะ
ระมัดระวังภาวะแทรกซ้อนต่างๆ
Apnea of prematurity (AOP)
การดูแลระบบทางเดินหายใจ
จัดท่านอนที่เหมาะสม
สังเกตอาการพร่องออกซิเจน
ดูแลให้ได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ
ดูดเสมหะเมื่อจำเป็น
ระวังการสำลัก
ภาวะแทรกซ้อนจากการได้รับออกซิเจน
เลือดออกในช่องสมอง (Intraventricular hermorrhage: IVH)
โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง (Bronchopulmonary Dysplasia: BPD)
จอประสาทตาผิดปกติ (Retinopathy of Prematurity :ROP)
Intraventricular hemorrhage (IVH)
ภาวะเลือดออกในโพรงสมอง
แบ่งเป็น
ช่วงก่อนคลอด: การคลอดทางช่องคลอด ภาวะทารกขาดออกซิเจนขณะอยู่ในครรภ์ ภาวะตกเลือดก่อนคลอด
ช่วงหลังคลอด: RDS, prolonged neonatal resuscitation,
acidosis, pneumothorax, NEC และภาวะชัก
อาการ
มักเกิดในทารกคลอดก่อนกาหนดที่มี RDS รุนแรงและต้องใช้เครื่องช่วยหายใจ
ร้อยละ 90 จะมีเลือดออกภายใน 72 ชั่วโมงหลังเกิด
ในรายที่มีเลือดออกปริมาณมากและเร็ว ทารกจะมีอาการทรุดลงอย่างรวดเร็ว หมดสติชักเกร็ง หยุดหายใจ ซีด และกระหม่อมหน้าโป่งตึง
แต่ถ้าเลือดออกไม่มาก ทารกอาจไม่มีอาการหรือเพียงแต่ซีดลงเท่านั้น บางรายอาจมีอาการซึม กล้ามเนื้ออ่อนแรงเป็นพักๆ
การวินิจฉัยด้วยการตรวจ ultrasound
เป็นวิธีที่ดีและสะดวกที่สุด
ความรุนแรงของ IVH แบ่งออกเป็น 4ระดับ
grade 1 : มีเลือดออกที่ germinal matrix
grade 2: มีเลือดออกในโพรงสมอง และขนาดของโพรงสมองปกติ
grade 3: มีเลือดออกในโพรงสมอง และขนาดของโพรงสมองใหญ่ขึ้น
grade4: มีเลือดออกในโพรง สมองร่วมกับเลือดออกในเนื้อสมอง
Retinopathy of Prematurity (ROP)
ความผิดปกติ ในทารกในทารกคลอดก่อนกาหนดที่มีน้ำหนักน้อย
การวินิจฉัย
ตรวจครั้งแรกเมื่อทารกอายุ 4 - 6 สัปดาห์ หรือ เมื่อทารกอายุครรภ์รวมหลังเกิด 32สัปดาห์
ถ้าไม่พบการดาเนินของโรค ตรวจซ้าทุก 4 สัปดาห์
ถ้าพบว่ามีการดาเนินของโรคอยู่ตรวจซ้าทุกอาทิตย์
ถ้าพบ ROP ควรนัดมาตรวจซ้าทุก ๆ 1 – 2 สัปดาห์
การพยาบาล
ดูแลให้ทารกรับออกซิเจนเท่าที่จำเป็น
ในทารกที่ได้รับออกซิเจน ติดตาม O2 saturation
ดูแลให้ทารกมีระดับ O2 saturation อยู่ระหว่าง 88-92 %
ดูแลให้ทารกได้รับยาวิตามินอีตามแผนการรักษา
ดูแลให้ทารกได้รับการตรวจ screening ROP
ดูแลให้ทารกมีภาวะ ROP รุนแรงและอยู่ในเกณฑ์บ่งชี้ให้ได้รับการรักษาโดย ใช้แสงเลเซอร์
Bronchopulmonary Dysplasia โรคปอดเรื้อรัง
อาการและอาการแสดง
หายใจเร็วกว่าปกติ
หน้าอกบุ๋ม (intercostal retraction)
O2ในเลือดต่ำกว่าปกติ
CO2ในเลือดคั่ง
ความดันในปอดสูง(pulmonary hypertension) ในรายที่รุนแรง
การวินิจฉัย
ประวัติ
อาการและอาการแสดง
ภาพถ่ายรังสีปอด
การป้องกัน
การคลอดก่อนกำหนด
การให้ o2 ความเข้มข้นสูงเป็นเวลานาน
การใช้ความดันของเครื่องช่วยหายใจสูงเป็นเวลานาน
ให้สารต้านอนุมูลอิสระ
การรักษา
ตามสาเหตุ
ตามอาการ
การให้ o2
ให้ยาขยายหลอดลม
ฟื้นฟูสมรรถภาพปอด
ปัญหาระบบภูมิคุ้มกัน
ทารกคลอดก่อนกำหนด
การสร้าง IgM ยังไม่สมบูรณ์ ได้รับ IgG จากมารดาขณะอยู่ในครรภ์น้อย
เม็ดเลือดขาวมีน้อย จึงทาหน้าที่ในการกาจัดเชื้อโรค (phagocytosis) ไม่สมบูรณ์
ผิวหนังเปราะบาง epidermis และ dermis ยึดกันอย่างหลวมๆ
จึงถูกทำลายได้ง่าย
Sepsis
สาเหตุ
preterm
ถุงน้าคร่าแตกก่อนกาหนดนานเกิน 18 ชั่วโมง
การคลอดล่าช้า
มารดามีการติดเชื้อ น้ำคร่ำมีกลิ่น
เชื้อ Group B streptococci แกรมลบ E.coli Klebsiella)
ทารกมีภาวะพร่องออกซิเจนในครรภ์
การตรวจวินิจฉัย
ซักประวัติมารดาขณะตั้งครรภ์ ไข้ ผื่น ต่อม น้ำเหลืองโตสัมผัสผู้ป่วยติดเชื้อ
ตรวจร่างกาย
ตรวจทางห้องปฏิบัติการ
Culture 24-48 hr.( blood, UA, CSF, Sputum)
CBC , Plt count
ESR ดูการตกของเม็ดเลือดขาว ทารกยังไม่เกิน 2 mm/hr
CRP
CXR
อาการและอาการแสดง
ซึม
ร้องนาน
ไม่ดูดนม
ซีด
ตัวลายเป็นจ้า (motting)
ผิวหนังเย็น
หายใจเร็ว หายใจลาบาก
ท้องอืด อาเจียน
สั่น ชัก
การรักษา
ให้ยาปฏิชีวนะที่เหมาะสมตาม sensitivity
ส่วนมากให้ Ampicillin iv กับ Gentamycin iv
ถ้าไม่ได้ผลนิยมเปลี่ยนเป็น กลุ่ม Cephalosporins iv
การพยาบาล
ประเมินภาวะติดเชื้อในร่างกาย
ดูแลให้ได้รับยาปฏิชีวนะ และสังเกตอาการข้างเคียงของยา
ควบคุมอุณหภูมิกายให้อยู่ในระดับปกติ
ดูแลความสะอาดร่างกายและสิ่งแวดล้อม
ติดตามผลทางห้องปฏิบัติการ
แยกทารก
ระบบทางเดินอาหาร
Necrotizing Enterocolitis (NEC)
ภาวะลำไส้เน่าอักเสบ
อาการ
เซื่องซึม (lethargy)
ดูดนมไม่ดี
ตัวเหลือง
ร้องกวน
อุณหภูมิกายต่ำ
หยุดหายใจ
หัวใจเต้นช้า
มีภาวะกรดเกิน
โซเดียมต่ำและออกซิเจนต่ำ
อาการเฉพาะ
ท้องอืด
ถ่ายอุจาระเหลว
อาเจียนเป็นสีน้ำดี
มีเลือดออกในทางเดินอาหาร
มีอาหารเหลือค้างในกระเพาะอาหาร
อาจมีเยื่อบุช่องท้องอักเสบ
การวินิจฉัย
การตรวจเอกซเรย์ช่องท้อง เพื่อสังเกตเงาลมแทรกในผนังลำไส้
การตรวจเอกซเรย์ด้านข้าง
การตรวจช่องท้องด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง
การเพาะตัวอย่างเลือด
การรักษา
การระงับสิ่งกระตุ้นทำให้เกิดการอักเสบทางNPO
ยาปฏิชีวนะชนิดสเปกตรัมกว้าง การระงับการติดเชื้อตามระบบต่างๆ ของร่างกาย
ให้สารน้า สารอาหารทางหลอดเลือด
ให้ยากลุ่มกระตุ้นความดันโลหิต (Vasopressor)
การเฝ้าติดตามการเปลี่ยนแปลงของผู้ป่วย
การผ่าตัดแบ่งออกได้ 2 วิธี
.การผ่าตัดแบบเปิดสารวจช่องท้อง
การใส่ท่อระบายช่องท้อง
Hypoglycemiaระดับน้ำตาลในเลือดต่ำ
อาการแสดง
ซึม ไม่ดูดนม
สะดุ้งผวา
อาการสั่น
ซีดหรือเขียว
หยุดหายใจ
ตัวอ่อนปวกเปียก
อุณหภูมิกายต่า ชักกระตุก
สาเหตุ
การไม่ได้รับกลูโคสจากมารดาอีกต่อไป
glycogen ที่ตับสะสมไว้น้อยจึงสร้างกลูโคสได้จากัด
การสร้างกลูโคส (glucogenesis) ได้น้อย
มีภาวะเครียด
การดูแล
ทารกที่มีอาการร่วมกับระดับน้ำตาลน้อยกว่า 40 มก./ดล.
ให้สารละลายกลูโคสทางหลอดเลือด(10% D/W)
ทารกไม่มีอาการ
แรกเกิด-อายุ 4 ชั่วโมง ให้นมภายใน 1 ชั่วโมงแรก
ติดตามระดับน้ำตาลในเลือด 30 นาทีหลังให้นมมื้อแรก
ถ้าระดับน้ำตาลน้อยกว่า 25 มก/ดล. ให้นมและติดตามระดับน้าตาลในเลือด 1 ชั่วโมง
ถ้าระดับน้ำตาลน้อยกว่า 25 มก/ดล. ให้สารละลายกลูโคสทางหลอดเลือด
ระดับน้ำตาล 25-40 มก/ดล. ให้นมหรือสารละลายกลูโคสทางหลอดเลือด*
อายุ 4-24 ชั่วโมง ให้นมทุก 2-3 ชั่วโมง ติดตามระดับน้ำตาลในเลือดก่อนมื้อนม
10% D/W 2 mg /kg.และ/หรือ glucose infusion rate (GIR) 5-8 มก/กก/นาที โดยให้ระดับน้ำตาลในเลือด อยู่ในช่วง 40-50 มก./ดล.
Meconium aspiration syndrome (MAS)
คือ
เป็นภาวะที่ทารกในครรภ์สูดสาลักหรือหายใจเอาขี้เทาที่มีอยู่ในน้ำคร่ำเข้าไปในหลอดลมหรือปอด
ส่งผลให้ทารกมีปัญหาหายใจลาบาก
สาเหตุ
มารดา
อายุครรภ์มากกว่า 42 wks ส่งผลให้รกเสื่อมสภาพ
ความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์
มารดามีภาวะรกเกาะต่าหรือรกลอกตัวก่อนกาหนด
มารดามีภาวะน้ำคร่ำน้อยกว่าปกติ ทารกเคลื่อนไหวไม่สะดวก เกิดสายสะดือถูกกด
มีภาวะถุงน้ำคร่ำอักเสบ น้ำคร่ำรั่วนานกว่า 18 ชม.
ประวัติใช้สารเสพติด ส่งผลให้มีการหดรัดตัวของมดลูก
ทารก
เมื่อทารกในครรภ์มีภาวะขาดออกซิเจน ร่างกายของทารกจะมีการปรับตัว เพื่อหาแหล่งของออกซิเจนมาใช้ แต่เมื่อรับออกซิเจนจากสายสะดือไม่ได้ ทารกจะเกิดภาวะเครียด
เมื่อทารกเครียดจะมีการคลายตัวของหูรูดลำไส้ของทารก ทำให้มีการถ่ายขี้เทาในน้ำคร่ำมารดา
การถ่ายขี้เทาออกมาปนในน้ำคร่ำขณะที่ทารกอยู่ในครรภ์เกิดได้ 2 ลักษณะ
ลักษณะทางพยาธิสรีรวิทยาปกติ
ลักษณะความผิดปกติทางพยาธิสภาพของรกและทารกในครรภ์
ทารกที่มีอายุครรภ์ครบกาหนด หรือเกินกาหนด
อาการและอาการแสดง
อาการรุนแรงน้อย
หายใจเร็วระยะสั้นๆ เพียง 24-72 ชั่วโมง
มักหายไปใน 24-72 ชั่วโมง
อาการรุนแรงปานกลาง
หายใจเร็วมีความรุนแรงมากขึ้น
มีการดึงรั้งของช่องซี่โครง และมีความรุนแรงสูงสุดเมื่ออายุ 24 ชั่วโมง
อาการรุนแรงมาก
ระบบหายใจล้มเหลวทันที หรือภายใน 2-3 ชั่วโมงหลังเกิด
การวินิจฉัย
อาการแสดง
ตรวจร่างกาย
น้าคร่ามีตะกอนขี้เทา
ฟังเสียงปอดไม่ได้ยินเสียงอากาศผ่าน
ภาพถ่ายรังสีalveolar infiltration hyperaeration atelectasis
ABG: มีภาวะเลือดเป็นกรด มีคาร์บอนไดออกไซด์คั่ง มีภาวะพร่องออกซิเจน
แนวทางการรักษา
ให้ทารกได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ
พิจารณาให้ยาตามอาการของทารก เพื่อให้ทารกพักผ่อน ลดการใช้ออกซิเจนในร่างกาย(กลุ่ม opioids, กลุ่ม muscle relaxants )
พิจารณาใช้ยาเพื่อขยายหลอดเลือดในปอด
ให้ยาปฏิชีวนะ ในกรณีมีภาวะหายใจล้มเหลว เพื่อลดการอักเสบเนื้อเยื่อปอด
เฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนที่สาคัญ
การพยาบาล
ได้รับออกซิเจนเพียงพอ เฝ้าระวังการติดเชื้อ
ติดตามอาการแสดงของการขาดออกซิเจน
วัดความดันโลหิตทุก2- 4 ชั่วโมง เฝ้าระวังการเกิดความดันต่าจาก PPHN
รบกวนทารกให้น้อยที่สุด
นางสาวณัฐณิชา คำสุววรรณ เลขที่26 62111301027