Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทฤษฎีการดูแลตนเองของโอเร็ม - Coggle Diagram
ทฤษฎีการดูแลตนเองของโอเร็ม
การสร้างทฤษฎีการดูแลตนเองโอเร็ม
1.บุคคลเป็นผู้มีความรับผิดชอบต่อการกระทำของตนเอง
บุคคลเป็นผู้ที่มีความสามารถและเต็มใจที่จะดูแลตนเองหรือผู้ที่อยู่ในความ
3.การดูแลตนเองเป็นสิ่งสำคัญและเป็นความจำเป็นในชีวิตของบุคคลเพื่อดำรงรักษาสุขภาพ
การดูแลตนเองเป็นกิจกรรมที่เรียนรู้และจดจำไว้ได้จากสังคมสิ่งแวดล้อมและการติดต่อสื่อสารกัน
การศึกษาและวัฒนธรรมมีอิทธิพลต่อบุคคล
6.การดูแลตนเองหรือการดูแลผู้อยู่ในความปกครองหรือผู้อื่นเป็นสิ่งที่มีค่าควรแก่การยกย่องส่งเสริม
7.ผู้ป่วยชราคนพิการหรือทารกต้องได้รับการช่วยเหลือดูแลจากบุคคลอื่นเพื่อสามารถที่จะกลับมารับผิดชอบดูแลตนเองได้
8.การพยาบาลเป็นการบริการเพื่อนมนุษย์ซึ่งกระทำโดยมีเจตนาที่จะช่วยเหลือ
โอเร็มอธิบายมโนทัศน์ของการดูแลไว้ว่า
การดูแลตนเองเป็นการปฏิบัติกิจกรรมที่บุคคลริเริ่มและกระทำเพื่อให้เกิด
ประโยชน์แก่ตนเองในการด ารงไว้ซึ่งชีวิต สุขภาพ และความเป็นอยู่อันดี
วัตถุประสงค์ของทฤษฎีการดูแลตนเองโอเร็ม
เพื่อบรรยาย อธิบาย ทำนาย หรือ กำหนดวิธีการพยาบาล
เป็นทฤษฎีทางการพยาบาลที่รู้จักแพร่หลายในวิชาชีพพยาบาล และมีการ
นำไปใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติการพยาบาล
เป็นพื้นฐานของการสร้างหลักสูตรในโรงพยาบาลบางแห่
มโนมติ 4 ประการ
คน
เป็นองค์รวมเป็นระบบเปิด
เรียนรู้เกี่ยวกับตนเอง
มีการวางแผนการ
สิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมทางกายภาพ เคมี และ ชีวภาพ
สิ่งแวดล้อมทางสังคม
สุขภาพ
การที่หน้าที่ทั้งด้านสรีระ จิต สังคม และมีความสัมพันธ์ที่ดีกับบุคคลอื่น
เพียงพอและต่อเนื่อง
การพยาบาล
ความสามารถและความต้องการการดูแลของบุคคล
ช่วยปฏิบัติกิจกรรมการดูแลตนเองแทนบุคคล
ความต้องการการดูแลตนเองทั้งหมด(TSCD)
การดูแลตนเองที่จำเป็นโดยทั่วไป
การดูแลตนเองที่จำเป็นตามพัฒนาการ
ความต้องการการดูแลตนเองที่จำเป็นในภาวะเบี่ยงเบนทางด้านสุขภาพ
มโนทัศน์หลักของทฤษฎีการดูแลตนเองของโอเร็ม
มโนทัศน์เกี่ยวกับการดูแลตนเอง (Self -care)
-มโนทัศน์เกี่ยวกับความสามารถในการดูแลตนเอง (Self –care agency)
-มโนทัศน์เกี่ยวกับความต้องการการดูแลตนเองทั้งหมด
(Therapeutic Self -care demand)
-มโนทัศน์เกี่ยวกับปัจจัยเงื่อนไขพื้นฐาน (Basic conditioning factors)
ทฤษฎีทางการพยาบาลของโอเร็ม
ทฤษฎีดูแลตัวเอง (Self – care Theory)
-ระยะที่ 1 เป็นระยะของการประเมินและตัดสินใจ
บุคคลจะต้องหาความรู้และข้อมูลเกี่ยวกับสถานการณ์
-ระยะที่ 2 ระยะของการกระทำและประเมินผลของการกระทำ
ความสามารถในการดูแลตนเอง
(Self-care agency)
ความสามารถและคุณสมบัติขั้นพื้นฐาน
พลังความสามารถในการดูแลตนเอง
ความสามารถในการปฏิบัติการเพื่อดูแลตนเอง
ความสามารถในการดูแลตนเอง (Self-care agency)
ความสามารถที่จะรู้ (Knowing)
ความสามารถที่จะกระทำ(Doing)
คุณสมบัติหรือปัจจัยที่มีผลต่อการแสวงหาเป้าหมายของการกระทำ
คุณสมบัติหรือปัจจัยที่มีผลต่อการแสวงหาเป้าหมายของการกระทำ
พลังความสามารถในการดูแลตนเอง (10 Power)
เชื่อมการรับรู้และการกระทำของมนุษย์ เฉพาะเจาะจงสำหรับการกระทำอย่างจงใจเพื่อการดูแลตนเองไม่ใช่การกระทำโดยทั่วไป
การดูแลตนเองที่จำเป็นโดยทั่วไป(USCR)
คงไว้ซึ่งอากาศ น้้า และอาหารที่เพียงพอ
คงไว้ซึ่งการขับถ่ายและการระบายให้เป็นไปตามปกต
คงไว้ซึ่งความสมดุลระหว่างการมีกิจกรรมและการพักผ่อน
คงไว้ซึ่งความสมดุลระหว่างการอยู่คนเดียวกับการมีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น
ป้องกันอันตรายต่างๆ ต่อชีวิต หน้าที่ และสวัสดิภาพ
ส่งเสริมการทำหน้าที่และพัฒนาการให้ถึงขีดสูงสุดภายใต้ระบบสังคม
การดูแลตนเองที่จำเป็นตามระยะพัฒนาการ
วัฒนาและคงไว้ซึ่งภาวะความเป็นอยู่ที่ช่วยสนับสนุนกระบวนการของชีวิต
การดูแลเพื่อป้องกันการเกิดผลเสียต่อพัฒนาการโดยจัดการเพื่อบรรเทาเบาบางอารมณ
ทฤษฎีความพร่องในการดูแลตนเอง
เป็นแกนกลางของทฤษฎีที่อธิบายถึงความจำเป็นที่ต้องการให้การพยาบาล และวิธีที่บุคคลจะรับการพยาบาลเพื่อการดูแลตนเอง
ความพร่องในการดูแลตนเองเกิดเนื่องจากบุคคลไม่สามารถสนองความต้องในการดูแลตนเองหรือปฏิบัติได้สำเร็จ
จึงจำเป็นต้องขอความช่วยเหลือจากพยาบาลในด้านใดด้านหนึ่ง
. ทฤษฎีระบบการพยาบาล (Theory of Nursing System)
เป็นกิจกรรมทีพยาบาลจัดหาให้เพื่อสนองความต้องการดูแลตนเอง
• กำหนดจากตัวผู้ป่วยเอง และความต้องการทั้งหมด โดยมุ่งให้บรรลุความต้องการการดูแลตนเองในแต่ละระบบของ
• จะกำหนดความรับผิดชอบของพยาบาล บทบาทของผู้ดูแลเหตุผลของการมีสัมพันธภาพ ระหว่างพยาบาลและผู้ป่วย ตลอดจนกิจกรรมการ
• ความสามารถทางการพยาบาล เป็นความสามารถที่ได้มาจากการศึกษาและฝึกปฏิบัติในศาสตร์และศิลปทางการพยาบาล
ทางการพยาบาล
คือ ระบบที่ได้มาจากการใช้ความสามารถทางการพยาบาลเพื่อปรับปรุง
แก้ไขความสมดุลระหว่างความสามารถในการดูแลตนเองกับความต้องการการดูแลตนเองทั้งหมดเป็นระบบที่มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลาตามความสามารถและความต้องการการดูแลของผู้ป่วย
ระบบทางการพยาบาล
ระบบทดแทนทั้งหมด
ระบบทดแทนบางส่วน
ระบบสนับสนุนและให้ความรู้
ระบบสนับสนุนและให้ความรู้
ระบบสนับสนุนและให้ความร
-บทบาทผู้รับบริการสนับสนุน
-กระตุ้นและใหกำลังใจ
บทบาทผู้รับบริการ
-เรียนรู้ในการตัดสิความต้องการ
-ดูแลตนเองทั้งหมด
ทฤษฎีการดูแลตนเองของโอเร็มกับกระบวนการพยาบาล
ขั้ั้นตอนที่ 1 ขั้นวินิจฉัยและพรรณนา
้ขั้นนตอนที่ 2 ขั้นวางแผน
ขั้นตอนที่ 3 ขั้นปฏิบัติการพยาบาลและควบคุม
ขั้นตอนที่1 ขั้นปฏิบัติการพยาบาลและควบคุม
เป็น ขั้นตอนที่ระบุถึงความพร่องในการดูแลตนเอง โดยมีขั้นตอนของการรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับความสามารถในการดูแลตนเอง ความต้องการในการดูแลตนเองทั้ง 3 ด้านรวมทั้งปัจจัยพื้นฐานที่เกี่ยวข้อง แล้วจากนั้นจะพิจารณาความสัมพันธ์ระหว่างความสามารถกับความต้องการการดูแลตน เองเพื่อบ่งชี้ถึงภาวะพร่องในการดูแลตนเอง และเขียนข้อวินิจฉัย
ขั้นตอนที่ 2 ขั้นวางแผน (Design and Plan)
เป็นขั้นตอนที่ต่อเนื่องเมื่อทราบถึงความพร่องในการดูแลตนเองแล้ว จากนั้นจะทำการเลือกระบบการพยาบาลให้เหมาะสม แล้วนำมาวางแผนโดยมีการกำหนดเป้าหมายหรือผลลัพท์ทางการพยาบาล ( Expected Outcome ) และกำหนดกิจกรรมการพยาบาล
ขั้นตอนที่3 ขั้นปฏิบัติการพยาบาลและควบคุม (Regulate and Control )
เป็นขั้นตอนที่พยาบาลนำกิจกรรมไปลงมือปฏิบัติตามแผนการพยาบาล โดยมีจุดมุ่งหมาย คือการบรรลุความต้องการการดูแลตนเองทั้งหมด ( TSCD ) และในตอนนี้ยังรวมถึงการประเมินผลลัพท์ทางการพยาบาลว่ามีประสิทธิภาพหรือ ไม่ และปกป้องหรือพัฒนาความสามารถหรือไม่ และนำข้อมูลย้อนกลับเข้าสู่การประเมินสภาวะอีกครั้ง