Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลโรคจิตเวชในเด็ก :silhouettes: - Coggle Diagram
การพยาบาลโรคจิตเวชในเด็ก
:silhouettes:
Autisum
:star:
สาเหตุ
ทางสมอง
Cerellum ควบคุมเซลล์ลดลง
ตัวนำประสาทผิดปกติ
ระบบภูมิคุ้มกันผิดปกติ
ชักในวัยเด็ก
กรรมพันธุ์
พี่น้องพ่อแม่เดียวกัน1:50
พบในฝาแฝด
สิ่งแวดล้อมหรือครอบครัว
ครอบครัวแห่งเหิน
สิ่งแวดล้อมหรือครอบครัว
ครอบครัวแห่งเหิน
การสื่อสารผิดๆในครอบครัว
พ่อแม่บุคลิกเบี่ยงเบนครอบครัวแตกแยก
อาการ
ไม่สนใจสิ่งรอบข้าง
อยู่กับตัวเองเล่นคนเดียวชอบเล่นวัตถุหมุนๆกลมๆ
ใช้ภาษาที่ผู้อื่นไม่เข้าใจ
พูดเรื่องเดียวซ้ำๆ
ไม่ชอบการเปลี่ยนแปลงขาดจินตนาการ
ข้อสังเกต
16 เดือนไม่สามารถพูดเป็นคำๆได้
12 เดือนไม่ส่งเสียงหรือทำท่าทาง
24 เดือนไม่สามารถพูดสองวลีที่มีความหมายได้
ทุกช่วงอายุมีการทดถอยด้านภาษา
การวินิจฉัยโรค
การวินิจฉัยตามเกณฑ์ DSM-5
A. มีความบกพร่องอย่างต่อเนื่องในการติดต่อสื่อสาร และการมีปฏิสัมพันธ์ทางสังคม
บกพร่องในการมีความสัมพันธ์ทางอารมณ์ซึ่งกันและกันในสังคม
บกพร่องด้านการแสดงพฤติกรรมในการติดต่อสื่อสาร
บกพร่องในการพัฒนา การเข้าใจ และคงไว้ซึ่งสัมพันธภาพ
B.รูปแบบของพฤติกรรมที่ทำซ้ำๆ มีรูปแบบจำกัด
โดยแสดงออกอย่างน้อย 2 ลักษณะ
แสดงการเคลื่อนไหว การใช้วัตถุ และการพูดซ้ำ ๆ ในรูปแบบเดิม ๆ
ยืนกรานทำสิ่งเดิม ๆ ยึดติด และขาดความยืดหยุ่น
มีความสนใจที่จำกัด
มีปฏิกิริยาตอบสนองความรู้สึกทั้งมาก และน้อยเกินไป
C. อาการแสดงเหล่านี้อาจปรากฏในช่วงต้น ๆ ของพัฒนาการ
D.อาการที่เป็นสาเหตุทางคลินิก คือ ความบกพร่องในสังคม
บกพร่องในการประกอบอาชีพ
E.ความผิดปกติเกิดจากภาวะบกพร่องทางสติปัญญามักพบร่วมกับโรคออทิสติก
การรักษา
การใช้เทคนิค Floor timeช่วยพัฒนาอารมณ์และสังคมให้เหมาะสม
การรักษาด้วยยาAntipsychotics
Haloperidol (Haldol),Risperidone (Risperdal)
ลดความก้าวร้าว
ข้อวินิจฉัย
1.เสี่ยงต่อการทำร้ายตนเอง
เนื่องจากมีความผิดปกติของสมอง
1.ดูแลแบบตัวต่อตัวให้เกิดความไว้วางใจ
2.หาสาเหตุของการทำร้ายตัวเอง
3.ป้องกันอันตรายจากการทำร้ายตัวเอง
2.มีความบกพร่องของปฏิสัมพันธ์ทางสังคมเนื่องจากมีความผิดปกติของสมอง/ไม่มีความไว้วางใจ/ขาดคนดูแล
2.จัดหาของที่เด็กคุ้นเคย
3.ช่วยเหลือในการปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น
1.สร้างสัมพันธภาพให้ไว้วางใจ
4.ให้แรงเสริมทางบวก
ADHD
:star:
อาการ
Hyperactivity
อาการซนไม่อยู่นิ้ง
วุ่นวาย
ยุกยิกตัวไปมานั่งไม่ติด
ไม่สามารถเล่นเงียบ
Impulsivity อาการหุนหันพันแล่น
ลำบากในการรอคอย
พูดตรงขึ้นมาก่อนถามจบ
ขัดจังหวะพูดแทรก
Inattention
อาการสมาธิสั้น
ลำบากในการตั้งสมาธิ
วอกแวกไม่ฟังคนอื่นพูด
ทำกิจกรรมไม่สำเร็จ
สาเหตุ
สารเคมีในสมอง
พันธุกรรม พ่อแม่ที่เป็นเด็กมีโอกาสถึงสี่เท่า
เหล้าบุหรี่สารเสพติดหรือภูมิแพ้
แบบประเมิน
การประเมินสมาธิสั้น (SNAP-iv)
อาการขาดสมาธิซนไม่นิ่งหุนหันพันแล่น(inattention)
แนวทางการช่วยเหลือ
จัดสิ่งแวดล้อมที่ปลอดภัยอ่านหนังสือนิทาน
กิจกรรมที่เด็กชอบโดยพ่อแม่ทำด้วย
ปรับพฤติกรรม
รักษาด้วยยา
การรักษา
รักษาจะครอบคลุมทั้งหมด 5 ด้าน
ให้สุขภาพจิตศึกษาสำหรับเด็กและครอบครัว
ความสามารถในการประกอบกิจกรรมการดำเนินชีวิต
และพฤติกรรมสำหรับเด็ก
สนับสนุนในระดับบุคคลและครอบครัว
การให้คำปรึกษาและการบำบัดการ
ให้ความช่วยเหลือของโรงเรียน
การรักษาด้วยยา
Methylphenidate (Ritalin)
ช่วยให้เด็กมีความสนใจมากขึ้น
ลดอาการซน หุนหันพลันแล่น
ข้อวินิจฉัย
1.เสี่ยงต่อการได้รับบาดเจ็บเนื่องจากพฤติกรรมซนมาก
1.จัดสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสม
2.อยู่ในสายตาผู้ดูแลตลอด
3.ใช้หลักการปรับพฤติกรรม
2.มีปฏิสัมพันธ์ทางสังคมบกพร่องเนื่องจากพฤติกรรมซนมาก
1.สร้างสัมพันธภาพให้เด็กไว้วางใจและยอมรับพฤติกรรม
2.ร่วมกันคิดและอภิปรายถึงพฤติกรรมที่เหมาะสมและไม่เหมาะสมให้เด็กเข้าใจ
Intellectual Disabilities
:star:
ลักษณะทางคลินิก
ระดับปานกลาง
สามารถเรียนรู้การเดินทางคนเดียว
ต้องการความช่วยเหลือปานกลางตลอดชีวิต
วินิจฉัยเมื่ออายุ2-3ปี วัยก่อนเรียน
เรียนถึงป.2-3
ระดับรุนแรง
ล่าช้าทุกด้านโดยเฉพาะภาษา
มีปัญหาด้านการเคลื่อนไหว
พบความผิดปกติ1ปี
มีความกำจัดการดูแลตนเอง
ส่วนมหญ่ต้องการการดูแลตลอดชีวิต
ระดับเล็กน้อย
โตขึ้นต้องช่วยเหลือเล็กน้อย
ปัจจัยสิ่งแวดล้อม+วัฒนธรรมมีผลต่อภาวะ
วินิจฉัยเมื่อวัยเรียนแล้วเรียนถึงป.6/สูงกว่า
ระดับรุนแรงมาก
ฝึกการช่วยเหลืออย่างมาก
ต้องการให้ดูแลตลอดชีวิต
พัฒนาการล่าช้าตั้งเด็กๆ
ประเภทของความบกพร่อง
Severe
I.Q.20-40
อายุสมอง 3 ปี เรียนไม่ได้
ฝึกอาชีพไม่ได้
ฝึกให้ความช่วยเหลือ+ทำกิจวัตรประจำวัน
พัฒนาการเคลื่อนไหวไม่ได้
พูด-เขียนได้น้อย
Moderate
I.Q.35-49
สามารถฝึกอาชีพได้
มีความจำกัดการสื่อสาร/กล้ามเนื้อมัดใหญ่
อายุสมอง 5-6 ปีเรียนถึงป.2
Mild
I.Q.50-70
เรียนได้ถึงป.6
สามารถพัฒนาทักษะการทำงาน,สังคม
มีปัญหาการประสานงานกล้ามเนื้อมัดเล็ก
Profound
I.Q.<20
มีขีดจำกัดด้านภาษา
ต้องการให้ความช่วยเหลือใกล้ชิด
พัฒนาการล่าช้าเด่นชัด
มีพัฒนาการเคลื่อนไหว+ฝึกช่วยเหลือตนเองได้บ้าง
การฟื้นฟูสมรรถภาพ
ด้านการศึกษา
อายุ 5-17 ปี
จัดแผนการศึกษาสำหรับบุคคล (IEP)
ด้านอาชีพ
อายุ 15-18ปี
ฝึกวิชาชีพที่ดี/ตรงต่อเวลา/รับคำสั้งแล้วทำ
อาชีพที่เหมาะสม
ถ่ายเอกสาร
รับส่งหนังสือ
ด้านการแพทย์
ส่งเสริมพัฒนาการ
จัดสภาะแวดล้อมให้เหมาะสม
ส่งเสริมบทบาทพ่อ-แม่
อรรถบำบัด
กายภาพบำบัด
กิจกรรมบำบัด
ฝึกการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็ก
ฝึกการทำงานของสาตตาให้ประสานกับแขนและมือ
เกณฑ์การวินิจฉัย
DSM 5
มีระดับเชาว์ปัญญาต่ำกว่าเกณฑ์
บกพร่องด้านการปรับตัว
DSM IV TR
แสดงอายุก่อน 18 ปี
I.Q. ต่ำกว่า 70
ข้อวินิจฉัย
1.มีความบกพร่องของการสื่อความหมาย
เนื่องจากพัฒนาการล่าช้า
การพยาบาลที่สำคัญ
จัดให้มีผู้ดูแลเด็กอย่างสม่ำเสมอ
ฝึกทักษะการสื่อความหมายโดยสอนในเรื่องภาษา
2.บกพร่องในการดูแลตนเองเนื่องจากมีความบกพร่องทาง
สติปัญญา/ บกพร่องทางระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ
การพยาบาลที่สำคัญ
เมื่อผู้ป่วยได้แสดงถึงความสามารถอย่างเต็มที่ในการทำกิจกรรมช่วยเหลือตนเอง
ให้คำชมเชยผู้ป่วยที่พยายามทำกิจกรรมดูแลช่วยเหลือตนเอง
1.ระบุรายละเอียดการดูแลตนเองตามความสามารถของผู้ป่วย โดยใช้การอธิบาย
Conduct disorder
:star:
การประเมินภาวะสุขภาพวัยรุ่น
ที่มีพฤติกรรมต่อต้านสังคม
ด้านอารมณ์
ความอดทนต่ำ
หงุดหงิดง่าย
ไม่มั่นใจในตนเอง
ไม่รู้สึกละอายใจ
วิตกกังวลสูงหรือซึมเศร้าร่วมด้วย
ด้านพฤติกรรม
ก้าวร้าวรุนแรง
ดื้อรันไม่ฟังใคร
ชอบท้าทายฝ่าฝืนกฎระเบียบต่างๆ
พูดหยาบพูดโกหก
ลักขโมย
การรักษา
พฤติกรรมบำบัด
ทักษะวิชาชีพ
รักษาด้วยยา
Haloperidol (Hadol),
Risperidoe (Risperdol)
เด็กที่มีพฤติกรรมก้าวร้าว
ใช้ยา Serotonin reuptake inhibitors
(SSRIs)
Sertraline (Zoloft)
Fluoxetine (Prozac)
Paroxetine (Paxil)
เด็กที่มีอาการหุนหันพลันแล่น
ใช้ยา Propanolol
ครอบครัวบำบัด
สาเหตุ
พันธุกรรม
ครอบครัว
พ่อแม่เป็นโรคจิตเวช
มีความรุนแรงในครอบครัวบุคลิก
พ่อแม่ผิดปกติ
ความสัมพันธ์ไม่ดีในครอบครัว
ชีวภาพ
Hormones เพศ
เพศชาย androstenedione สูงก้าวร้าว
เพศหญิง testosterone สูงความอดทนต่ำ
ชีวภาพทางสมอง
Serotonergic function, 5-HIAA ต่ำ
สังคม
ถูกปฏิเสธ
ฐานะยากจน
ข้อวินิจฉัย
1.เสี่ยงต่อการได้รับอันตรายต่อตนเองและผู้อื่น
3.มีความสำนึกในคุณค่าของตนเองต่ำ
2.มีพฤติกรรมก้าวร้าวลุกลามสิทธิของผู้อื่น
การพยาบาล
1.สร้างสัมพันธภาพเพื่อความไว้วางใจ
2.ส่งเสริมความตระหนักรู้ในพฤติกรรมโดยใช้หลักพฤติกรรมบำบัด
3.เปิดโอกาสให้ปรับเปลี่ยนพลังความคับข้องใจ
4.ส่งเสริมความตระหนักรู้ในคุณค่าของตนเอง
การวินิจฉัย
อาการอย่างน้อยหนึ่งอย่างในหกเดือน
ก้าวร้าวต่อคนหรือสัตว์ทำลายทรัพย์สิน
ฉ้อโกงหรือขโมย
ฝ่าฝืนกฎระเบียบอย่างรุนแรง