Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Leptospirosis - Coggle Diagram
Leptospirosis
การรักษา
การให้ยาปฎิชีวนะ ยา Doxycyclinโดยทานพร้อมอาหารหรือหลังอาหารทันที ดื่มน้ำมากๆป้องกันการคลื่นไส้ อาเจียน
-
-
-
-
สาเหตุ/ปัจจัยการก่อโรค
การติดเชื้อ Leptospiraอาศัยอยู่ในท่อหลอดไตของสัตว์ได้หลายชนิด เช่น หนู สุกร โค กระบือ สุนัข เชื้อมีชีวิตอยู่ได้นานหลายเดือนหลังถูกขับออกทางปัสสาวะจากสัตว์มีเชื้อ
สาเหตุการติดต่อ การกินอาหารดื่มน้ำปัสสาวะของสัตว์ เดินลุยน้ำอาบน้ำที่ปนเปื้อนปัสสาวะเชื้อจะเข้าทางบาดแผล ทางเยื่อบุจมูก ปากและตา
การวินิจฉัย
การซักประวัติ
มีประวัติการเดินป่า อาจจะเป้นทหารชายแดน ผู้ป่วยที่มีอาชีพหรือประวัติสัมผัสหรือเสี่ยงต่อการติดเชื้อเลปโตสไปร่า ร่วมกับอาการไข้เฉียบพลันและอาการอื่นๆ เช่น ปวดน่องรุนแรง (calf tenderness) ตัวตาเหลือง
การตรวจทางห้องปฎิบัติการ
-
-
ตรวจกาารทำงานของตับ พบการอักเสบของตับโดยจะมีค่า SGOT,SGPT สูงขึ้น
ในรายที่รุนแรงการทำงานของไตจะเสื่อม ค่า Creatinin, BUN จะเพิ่มขึ้น
-
การพยาบาลที่สำคัญ
ประเมินภสาวะโภชนาการสอบถามแบบแผนการรับประทานอาหาร ค้นหาสาเหตุที่ทำให้ผู้ป่วยรับสารอาหารไม่เพียงพอรักาาสุขภาพช่องปาก พักผ่อนให้เพียงพอ
ติดตามผลตรวจทางห้องปฎิบัติการและให้ได้รับยาตามแผนการรักษา แต่หากผุ้ป่วยมีปัยหาเกี่ยวกับการกลืนอาหารควรบันทึกสารอาหารและสารน้ำ
พยาธิสภาพ
พยาธิกำเนิดโรคมาจากการสัมผัสโดยตรงกับปัสสาวะของสัตว์นำโรคที่มีเชื้อหรือสัมผัสโดยอ้อมกับน้ำหรือดินที่ปนเปื้อนเชื้อเมื่อเข้าสู่ทางผิวหนังหรือเยื่อบุที่มีแผล เชื้อจะเข้าสู่กระแสเลือดภายใน 24 ชั่วโมงและกระจายไปตามอวัยวะต่างๆหลังจสกนั้นจึงทำให้การทำงานของอวัยวะต่างๆเสียไปจากการอักเสบและเนื้อตายตามอวัยวะนั้นๆ เช่น ไปที่ระบบกล้ามเนื้อก็จะมีการปวดเมื่อยตัวและน่อง ไปที่ระบบทางเดินอาหารก้จะมีอาการคลื่นไส้ อาเจียน ท้องเสีย ท้องโต ตับม้ามโต ตัวตาเหลือง ไปที่ระบบไตก็จะทำให้ไตวายเฉียบพลัน เกิดการคั่งของของเสียและน้ำเกิดความไม่สมดุลของเกลือแร่ในร่างกาย