Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การเงินการคลังสุขภาพ - Coggle Diagram
การเงินการคลังสุขภาพ
่ความเท่าเทียม EQUALITY
ความเป็นจริง Reality
ความเป็นธรรม EQUITY
การทำให้ได้รับสิทธิอันเท่าเทียมกัน Liberation
แนวคิดทางการเงินการคลังในระบบสุขภาพ
สภาวะเจ็บป่วยจนล้มละลาย
กระบวนการสนับสนับสนุนด้านการเงินให้กับสถาน บริการสาธารณสุข (Process of funding
health service)
พันธกิจ
พันธกิจรอง โดยมีเป้าหมาย (Gold) คือ สถานะ
สุขภาพของประชาชนดีขึ้นสูงสุด (Maximise health) อย่างถ้วนหน้า (Health for all)
ชุดสิทธิประโยชน์ (Benefit packages)
ไม่เกิดภาวะ
ล้มละลายจากการจ่ายค่าบริการ
ให้ประชาชนได้เข้าาถึงระบบบริการด้านสุขภาพอย่างทั่วถึงและเท่าเทียม
การดูแลคนกลุ่มนี้ไม่ให้ล้มละลายทางเศรษฐกิจ
เราดูเเลเขาได้ตลอดทางตั้งเเต่เกิดจนตาย
เป้าหมายของกาคลังสุขภาพ
1.ทำให้มีเงินเพียงพอในการจัดบริการสุขภาพ
ประเทศยากจน
จะหาเงินมาจากไหนให้พอในการจัดบริการ
ประเทศปานกลาง
จะทำอย่างไรจึงจะมีหลักประกันสุขภาพครอบคลุม
ประเทศร่ำรวย
จะควบคุมค่าใช้จ่าที่เพิ่มขึ้นได้อย่างไร
2.จัดระบบกลไกให้ใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัดให้เกิดประโยชน์สูงสุด
การเลือกซื้อบริการ Purchase
การจ่ายค่าบริการ
Reimbursement
ให้ประชาชนเข้าถึงบริการสุขภาพที่มีประสิทธิภาพเท่าเทียมกัน
แหล่งการเงินการคลังในระบบบริการสาธารณสุข
แหล่งเงินจากภาครัฐ
งบระมาณภาครัฐ
รายจ่ายจากองค์การปกครองส่วนท้องถิ่น
สวัสดิการข้าราชการ
ข้อดีข้อเสีย
มีเสถียรภาพมากได้จากการเก็บภาษี
ขึ้นอยู่กับนโยบายทางการเมมือง
แหล่งการคลังอื่นๆ
เงินช่วยเหลือจากต่างประเทศ
เงินอื่นๆ
ข้อดีข้อเสีย
ไม่เเน่นอนขขึ้นอยู่กับสภาพความรุนเเรงของปัญหาภายในประเทศ
แหล่งเงินจากภาคเอกชน
รายจ่ายโดยตรงจากครัวเรือน (Out of pocket)
รายจ่ายจากระบบประกันสุขภาพโดยสมัคใจ(ประกันชีวิต)
ข้อดีข้อเสีย
ขาดความเสถียรภาพง่ายขึ้นอยู่กับภาวะวิกฤตเศรษฐกิจ(การถูกเลิกจ้าง)
หาบริการอื่นทดแทนได้
หน่วยบริการสุขภาพ
ระบบบริการภาครัฐ
ระบบบริการภาคเอกชน
สภาพปัญหาการคลังในระบบบริการสาธารณสุข
แหล่งเงินภาครัฐ
ประเทศไทยมีระบบประกันสุขภาพ 3 ระบบซึ่งอยู่ภาคใต้ 3กระทรวงหลัก
กระทรวงสาธารณสุข
กระทรวงแรงงาน
กระทรวงการคลัง
สภาพปัญหา
กิดความซ้้าซ้อนในการบริหารจัดการ
การลักลั่นของสิทธิประโยชน์
ภาระเบี้ยประกัน
การจัดการบริหารด้านการเงินการคลัง
ปัจจัยที่มีผลต่อสมดุลทางการเงิน
การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชาชน
การเปลี่ยนเเแลงสถานภาพและกระบวนการรักษา
การเปลี่ยนแปลงการอภิบาลระบบ
การเปลี่ยนเเปลงด้านเศรษฐกิจ
ปัญหาระหว่างผู้เอาประกัน และผู้ให้บริการ
ผู้เอาประกัน
กลุ่มเสี่ยงซื้อประกันมาก (Adverse selection) กรณี voluntary
จริยธรรมการใช้บริการ (User moral hazard) โดยการใช้บริการมากเกิน จำเป็น
องค์กรประกัน
คัดเลือกกลุ่มเสี่ยง risk selection กรณี voluntary
insurance
ผู้ให้บริการ
จริยธรรมการให้บริการ (Provider moral hazard)
การให้บริการเกินความจำเป็น (Over-service)
การให้บริการต่ำกว่าที่ควรจะเป็น (Under-service)
ความไม่สมมาตรของข้อมูล (Asymmetric Information)
กรณีที่มีความไม่สมบูรณ์ของข้อมูล กล่าวคือ ข้อมูลที่ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในตลาดแต่ ละฝ่ายมีนั้นไม่เท่ากัน
ผู้ขายอาจจะมีข้อมูลเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์มากกว่าผู้ซื้อ จึงทำให้เกิดความล้มเหลวของการตลาด
Moral hazard
1) ปัญหา moral hazard
หลังจากผู้เอาประกันทำสัญญาประกันแล้ว มีพฤติกรรมเปลี่ยนไป
พฤติกรรมเหล่านี้ทำให้บริษัทประกันต้องรับมือกับการจ่ายค่า
สินไหมทดแทนบ่อยขึ้นโดยไม่จำเป็น
2) ปัญหา adverse selection
กลุ่มหนึ่งมีความเสี่ยงสูง อีกกลุ่มหนึ่งมีความเสี่ยง ต่ำและผู้เอาประกันทั้ง
การเงินและการเจ็บป่วยในระบบสุขภาพ
Patient
Family
Office
องค์ประกอบในระบบประกันสุขภาพ
ประชาชน/ผู้ป่วย
ผู้ให้บริการ
กองทุน
รัฐ/องค์กรวิชาชีพ
ประเภทของการประกันสุขภาพ ( Type of health insurance)
การสร้างหลักประกันสุขภาพจากระบบภาษี (Tax-based health insurance) หรือ (Beveridge model)
การประกันสุขภาพแบบบังคับ (Compulsory health insurance) หรือ (Bismarck model)
การประกันสุขภาพแบบสมัครใจ (Voluntary health insurance)
รูปแบบการประกันสุขภาพในประเทศไทย
สวัสดิการรักษาพยาบาล และ พนักงานรัฐวิสาหกิจ
ประกันสังคม กองทุนเงินทดแทน การประกันภัย
ภายใต้ พรบ. คุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ
(การประกันสุขภาพภาคบังคับ)
ระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้า
(๓๐ บาทรักษาทุกโรค)
ประกันกับบริษัทเอกชน (แบบสมัครใจ)
การจ่ายเงินให้สถานบริการ (Payment to provider)
จ่ายย้อนหลังตามบริการ (Retrospective reimbursement)
จ่ายเงินล่วงหน้าตามข้อตกลง (Prospective payment)
จ่ายเงินแบบผสม (Mixed payment)
ปัญหาระบบสุขภาพในประเทศไทย
การเลือกและการให้สิทธิกับผู้มีรายได้น้อย
ผู้ป่วยเลือกซื้อบัตรสุขภาพเป็นส่วนใหญ่ (adverse selection)
อัตราการคืนทุนต่ำในบัตรสุขภาพ (low cost recovery)
การให้บริการน้อยกว่าที่ควรในประกันสังคม (เอกชน)
ค่าใช้จ่ายของสวัสดิการข้าราชการสูงมาก
ความไม่เท่าเทียมของบริการและค่าใช้จ่ายระหว่างระบบ